แนวทางการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตนของสามเณรในโรงเรียนปริยัติธรรม Guidelines for Solving Problems That Affect the Practice of Novices in Pariyatitham Schools

Main Article Content

สุรินทร์ นำนาผล
สมาน แก้วคำไสย์

บทคัดย่อ

          บทความทางวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอปัจจัยปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตนของสามเณรในโรงเรียนปริยัติธรรมในโรงเรียนปริยัติธรรมเป็นแหล่งศึกษาของพระภิกษุหรือสามเณร ที่เข้ามาบวชในร่มพระพุทธศาสนา สามเณรคือผู้ที่ยังได้ชื่อว่าเป็นวัยรุ่นเช่นเดียวกันแม้จะอยู่ในเพศบรรพชิตก็ตาม ปัญหาที่เกิดกับสามเณรที่เป็นวัยรุ่นในโรงเรียนปริยัติธรรม มีมากมายหลายประการ อาทิ ปัญหาด้านความสัมพันธ์ระหว่างสามเณรกับประชาชน ปัญหาการติดยาเสพติดของสามเณรไทย ปัญหาด้านการเป็นโรคซึมเซาในหมู่สามเณร (วัยรุ่น) ตลอดจนปัญการใช้เทคโนโลยีของสามเณร ที่ทุกฝ่ายต้องหันมามองและหาแนวทางแก้ไข สำหรับแนวทางการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตนของสามเณรในโรงเรียนปริยัติธรรม ประกอบด้วย การบังคับใช้กฎหมายและการช่วยเหลือเด็ก การศึกษาและการสร้างความตระหนัก การสนับสนุนทางอารมณ์และสังคม การปรับปรุงระบบกฎหมายและนโยบาย และการสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร

Article Details

How to Cite
นำนาผล ส., & แก้วคำไสย์ ส. (2024). แนวทางการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตนของสามเณรในโรงเรียนปริยัติธรรม: Guidelines for Solving Problems That Affect the Practice of Novices in Pariyatitham Schools. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 6(2), 670–679. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/rtnb/article/view/5290
บท
บทความวิชาการ

References

นิกร ศรีราช. (2564). โอกาสที่ต่างกัน: สถานภาพสามเณรในประเทศไทยและบังคลาเทศ. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ,4(1),89-98.

มาณพ พลไพรินทร์. (2553). หลักการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นามมีบุ๊ค.

สุนทร บุญสถิต. (2543).สถานภาพ บทบาท และปัญหาของสามเณรในสังคมไทย. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอานาจกรบริหารและการจัดการการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2555). คู่มือการปฏิบัติงาน การขออนุญาตจัดตั้งและขยายชั้นเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

อัครพล, คุรุศาสตรา, จอมขวัญ, รุ่งโชติ. (2019). การศึกษาการพัฒนาแนวทางการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติด โดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่. วารสารวิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ,15(2),12-19.

Carina, Pichler. (2013). A Buddhist Way of Drug Rehabilitation in Thailand - Approaching Drug Addiction With Loving Kindness: An Interview With Phra Maha Narong Chaiyatha. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 6(1):195-201. doi: 10.4232/10.ASEAS-6.1-12.

José, María, García, Garduño., Charles, L., Slater., Gema, Lopez, Gorosave. (2010). El director escolar novel de primaria: Problemas y retos que enfrenta en su primer año. 15(47):1051-1073.

Kemal, Kayikçi., Ümran, Turan. (2020). The Metaphoric Perceptions of Students in Private High Schools About the School Concept and the Views of the Ideal School. International Journal of Social Political and Economic Research,7(4):1051-1076.

Lai, Jianhua. (1996). The Concept of Private Schools and Their Proper Appellation. Chinese Education and Society, 29(5):6-14. doi: 10.2753/CED1061-193229056.

Margalida, Fiol, Deyà. (2020). Les dificultats lectores d’alumnes de primària i la relació amb la presència del reflex tònic asimètric del coll (RTAC).

Mario, Konecki., Marko, Petrlić. (2014). Main problems of programming novices and the right course of action.

N., H., N, Muhammad., Syed, Hadzrullathfi, Syed, Omar. (2019). Remembrance (Zikr) Approach to Treat Drug Addiction Problems. The International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 9(7):1070-1080. doi: 10.6007/IJARBSS/V9-I7/6215.

Terrence, E., Deal. (1991). Private Schools: Bridging Mr. Chips and My Captain. Teachers College Record, 92(3):415-424.

Zhang, Hua., Sha, Hong. (1996). A brief account of the first symposium on the theory of privately run schools. Chinese Education and Society, 29(5):66-72. doi: 10.2753/CED1061-1932290566.