ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล Factors Affecting on Learning Organization of Strategy and Evaluation Department
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2) เปรียบเทียบการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เก็บรวบรวมข้อมูลกับข้าราชการที่ปฏิบัติงานในสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าเอฟ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัยพบว่า สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดได้แก่ ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ รองลงมาได้แก่ ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการมีแบบแผนความคิด ด้านการเป็นบุคคลรอบรู้ และการเรียนรู้เป็นทีม ตามลำดับ ผลการเรียบเทียบพบว่าบุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่มีอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ส่วนปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สามารถร่วมกันอธิบายการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ด้านการเป็นบุคคลรอบรู้ ได้ร้อยละ 8.5 (Adj. R2= 0.085) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
นครินศร์ จับจิตต์. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.
วันชนก อาจปรุ. (2564). แนวทางการพัฒนาความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่. (2567). ข้อมูลจากสำนักงานเลขานุการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล [เอกสารภายใน].กรุงเทพฯ: สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล.
Argyris, C., & Schön, D. A. (1978). Organizational Learning: A Theory of Action Perspective. Addison-Wesley. Edmondson, A.C. (1999). Psychological Safety and Learning Behavior in Work Teams. Administrative Science Quarterly, 44(2), 350-383.
Brown, A.H., & Green, T.D. (2015). The Essentials of Instructional Design: Connecting Fundamental Principles with Process and Practice, Third Edition (3rd ed.). Routledge. https://doi.org/10.4324/9781315757438.
Davis, G.M., & Fan, W. (2016). English vocabulary acquisition through songs in Chinese kindergarten students. Chinese Journal of Applied Linguistics.
Garvin, D. A. (1993). Building a learning organization. Harvard Business Review, 71(4), 78-91.
Johnson, R. Smith, J.(2018). Traditional versus Alternative Education: A Comparative Study of Student Outcomes. Journal of Educational Research, 42(3), 301-320.
Kaiser,S.M. (2000).Mapping the Learning Organization: Exploring A Model of Organization Learning. Ph.D. Dissertation, Louisiana State University, U.S.A.
Kotter, J. P. (1996). Leading Change. Harvard Business Review Press.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1999).Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Nadler, Leonard, and Wiggs, Garland D..(1989).Managing Human Resource Development. San Francisco: Jossey-Bass.
Nonaka, I., & Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-Creating Company: How Japanese Companies Create the Dynamics of Innovation. Oxford University Press.
Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. London: Century Press.
Senge, P.M. (1994). The fifth discipline: The art of practice of the learning organization. New York: Doubleday.
Smith. (2010). Age and Organizational Learning: The Influence of Age on Knowledge Acquisition and Sharing. New York: London Currency/Doubleday; Nicholas Brealey.
Williams, C. (2017). Organization and Management: Concept and Applications. Aviva Publishing House, Inc., Quezon City.