กลยุทธ์การสื่อสารการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลังยุค COVID-19

Main Article Content

ศุภชา ฤกษ์เรืองฤทธิ์
รัตนวดี เศรษฐจิตร

บทคัดย่อ

เชื้อไวรัส COVID-19 มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยวทั่วโลกและท่องเที่ยวในประเทศไทย นักท่องเที่ยวกำลังมองหาประสบการณ์การท่องเที่ยวที่แตกต่างจากเดิม มีการให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ ชุมชน และการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นมากขึ้น ชุมชนมีบทบาทสำคัญในสังคมโลกและในชุมชนท้องถิ่นมากขึ้น และหากการท่องเที่ยวส่งผลกระทบต่อชุมชน ชุมชนจะต้องรวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหา วางแผน ดำเนินการ และรับผิดชอบร่วมกัน การจัดการท่องเที่ยวไม่เพียงเพื่อปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังเพื่อความยั่งยืนในอนาคตทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย ทำให้การประชาสัมพันธ์หรือการบอกต่อสามารถทำได้ง่ายขึ้นมาก นำแนวคิดกลยุทธ์การสื่อสารการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลัง COVID-19 เป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจ สร้างรายได้ และสร้างการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ การสร้างรูปแบบการสื่อสารเพื่อให้ทุกคนในชุมชนเข้าใจถึงความสำเร็จของชุมชน ช่วยนำพาชุมชนให้เกิดการพัฒนาด้านการสื่อสารให้ทันสมัย เพิ่มความเข้มแข็งแก่ชุมชน และช่วยให้ชุมชนจัดการการสื่อสารที่นำไปสู่การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (2546), รายงานประจำปี 2546 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา,https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/viewer.php

กรุงเทพธุรกิจ (4 ตุลาคม 2565), ttb analytics ชี้ยอดนักท่องเที่ยวต่างชาติเที่ยวไทยปีนี้แตะ 9.5 ล้านคน, https://shorturl.asia/scWbr

กัณฐิมา แก้วงาม และ วิไลวรรณ จงวิไลเกษม (2561). เบตง: กลยุทธ์การสื่อสารท่องเที่ยวภายใต้ภาวะวิกฤตความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้, วารสารนิเทศศาสตร์, 37(3).

กาญจนา จันทรชิต และคณะ (22 สิงหาคม 2565), การเงินการคลัง, การท่องเที่ยวไทยฟื้นตัวแล้วหรือยัง?, http://www.fpojournal.com/thai-tourism-situation/22

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2556), รายงานประจำปี, https://www.tat.or.th/th/about-tat/annual-report

คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา และคณะ (2564) , กลยุทธ์การพัฒนาเมืองท่องเที่ยวชายแดนแม่สอด, วารสารการเมืองการปกครอง, 11(2).

จอย ทองกล่อมสี (2551) , กลุยุทธ์การประชาสัมพันธ์ การรับรู้ข่าวสาร และภาพลักษณ์ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 1(2).

จินตวีร์ เกษมศุข (ม.ป.ป.), การจัดการความรู้ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หลักการและกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์, https://www.stou.ac.th/offices/Oce/kmoce1/pr249561.pdf

เจนจีรา อักษรพิมพ์ (2560) , กลยุทธ์การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบยั่งยืนในจังหวัดนครราชสีมา, วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(3).

ณัฐแก้ว ข้องรอด (2563) , การพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์ ยุคไทยแลนด์ 4.0, วารสาร มหาวิทยาลัยพายัพ, 30(2).

ธนธรณ์ ทองหอม (2551), การจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน, สำนักทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์.

ธีรารัตน์ วรพิเชฐ (2564) , การปฏิบัติเกี่ยวกับการทำงานเชิงรุกในการตลาดผู้ประกอบการ, วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 15(3)

นรีนุช ยุวดีนิเวศ (2561) , กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการของนักท่องเที่ยวในงานเทศกาลแห่เทียนเข้าพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี, วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 13(1).

นฤดม ต่อเทียนชัย (2564) , กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ และความเชื่อมั่นที่ส่งผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมงานอีเว้นท์ออนไลน์ของผู้เข้าร่วมในเขตกรุงเทพมหานคร, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ปานฉัตร สินสุข (24 พฤษภาคม 2562), กรุงเทพธุรกิจ, เฟซบุ๊กผุดหลักสูตรค้าออนไลน์, https://www.bangkokbiznews.com/

ปาริชาต สถาปิตานนท์ (2548) , การจัดการสื่อสารแบบประยุกต์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผู้จัดการออนไลน์ (19 กรกฎาคม 2565), MGR online, ททท. ตั้งเป้าปี 66 เดินหน้า “พลิกฟื้น” อุตสาหกรรมท่องเที่ยวทุกมิติ คาดทำรายได้ 2.38 ล้านล้านบาท, https://mgronline.com/travel/detail/9650000068686

พจนา สวนศรี และ สมภพ ยี่จอหอ (2556), คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน, เชียงใหม่: สถานบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน.

พรรณนิภา เดชพล (2563) , การจัดการกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนของบ้านโป่งมะนาว อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี, วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 5(1).

พิทักษ์ ศิริวงศ์ และคณะ (2561) , การพัฒนารูปแบบการตลาดการท่องเที่ยวและการประชาสัมพันธ์เชิงรุกในภูมิภาคตะวันตก สำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุที่มีคุณภาพ, วารสารการเมือง การบริหาร และกฏหมาย, 10(2).

ราเมศร์ พรหมชาติ (2564), แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ้านแสลงพัน ตำบลแสลงพัน อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์, วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 6(2).

วิภาณี ชีลั่น (2559), การแพร่กระจายนวัตกรรมของศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิรัช ลภิรัตนกุล (2553), การประชาสัมพันธ์ ฉบับสมบูรณ์ สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระ แก่นเพชร (2564), แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในยุคดิจิทัล, วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 6(1).

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (2557), Value of e-Commerce Survey in Thailand, https://www.etda.or.th/th/Our-Service/Standard-(1)/Law.aspx

สุธิดา แจ้งประจักษ์ (2565), การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน, วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6(2).

สุพัฒน์ แก้วจันทร์ (2565) , กลยุทธ์การจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนฐานความยั่งยืน, วารสาร มจร เลย ปริทัศน์, 3(1).

สุภาพร นิภานนท์ (2559), กลยุทธ์การสื่อสารและการบริหารประเด็นเพื่อผลักดันนโยบายระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุวิมล สุทธิพงศ์ (2549), กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และภาพลักษณ์ของบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด ในสายตาของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต),จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสรี วงษ์มณฑา และ ดร.วรสุวิทย์ โพธิสัตย์ (2561), แนวทางในการเสริมสร้างคุณค่าสินค้า OTOP และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษาอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี, วารสารรัชต์ภาคย์, 12(25).

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) (23 กรกฎาคม 2561). TATREVIEW, การท่องเที่ยวหรืออุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด, https://shorturl.asia/q5Zkx

Airbnb (30 พฤศจิกายน 2564), Airbnb เผยเทรนด์ท่องเที่ยว “นักเดินทางมีความใส่ใจมากขึ้น” มาแรง, https://shorturl.asia/z2NmI

POSITIONING (30 มิถุนายน 2557), "TRANSMEDIA STORYTELLING" เล่าเรื่องข้ามสื่อในยุคดิจิทัล (ตอน 1) https://positioningmag.com/58047

salika (2 พฤษภาคม 2565), จากทางเลือกสู่กระแสหลัก Expedia ฟันธง เทรนด์การท่องเที่ยวยั่งยืน จะโตไม่หยุด หลังวิกฤตโรคระบาดคลี่คลาย, https://www.salika.co/2022/05/02/expedia-sustainable-tourism-trend-2022/

TDRI (14 กุมภาพันธ์ 2564), วิเคราะห์ผลกระทบของของโควิด-19 ต่อธุรกิจท่องเที่ยว, https://tdri.or.th/2021/02/covid-112/

ภาษาอังกฤษ

Adams‬, W. M. (2006), Retrieved from The Future of Sustainability: Re-thinking Environment and Development in the Twenty-first Century, https://portals.iucn.org/library/node/12635

Everett M. Rogers (1995) , Diffusion of innovations, Free Press.

Sandra C. Duhe (2550) , New Media and Public Relations, Peter Lang.

thumbsup (30 January 2021), DIGITAL TIPS, HIGHLIGHT, SLIDE, SOCIAL MEDIA, TREND, https://www.thumbsup.in.th/tiktok-trends-2020