ข้อผิดพลาดในการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยของนิสิตเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Errors in Translation English to Thai translation error: A case of English major students at Naresuan University

ผู้แต่ง

  • พิชญาภา สิริเดชกุล
  • อิสริยาภรณ์ ทองทับ
  • ดวงพร ทองน้อย
  • รุจิรัตน์ ชัยแสง

คำสำคัญ:

การแปล, ความผิดพลาดในการแปล, ปัญหาในการแปล, ประเภทความผิดพลาดในการแปล, การสอนแปล, กลวิธีการแปล

บทคัดย่อ

       งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอประเภทข้อผิดพลาดในการแปลของนิสิตเอกภาษาอังกฤษชั้นปีที่ 2 และ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยใช้การแบ่งประเภทตามสมาคมการแปลแห่งสหรัฐอเมริกา (The American Translators Association) ผลการวิจัยพบว่าข้อผิดพลาดที่พบมากที่สุดได้แก่ แปลผิดความหมาย (Meaning Transfer) (53.32%) รองลงมาคือ ความสามารถและลีลาในการใช้ภาษา (Writing Ability and Style) (28.91%) และแปลผิดทางไวยากรณ์ (Mechanism) (17.77%) พบน้อยที่สุด สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่าความรู้เรื่องไวยากรณ์เพียงอย่างเดียวอาจจะยังไม่เพียงพอต่อการเป็นนักแปลที่ดี ผู้แปลจำเป็นต้องมีความรู้รอบตัวและคลังคำที่เพียงพอ รวมทั้งความสามารถในการใช้ภาษาหลากระดับ

References

พรชัย พรวิริยะกิจ และ วรินทร แดนดี. (2558). ข้อผิดพลาดในการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ

การสื่อสารสากล. วารสารสังคมศาสตร์, 4(2) กรกฎาคม - ธันวาคม 2558.

http://old.rmutto.ac.th/fileupload/Wannasa%20Balsong6So.2.pdf

วโรทัย สิริเศรณีและ นิรชา ชมภูราษฎร์. (2564). ข้อผิดพลาดในการแปลของนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนครพนม.

วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(3) มีนาคม, 34-45.

สุดฤทัย อรุณศิโรจน์. (2559). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดโดยใช้ทฤษฎีไวยากรณ์ระบบหน้าที่กรณีศึกษานักเรียนไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็น

ภาษาต่างประเทศ. Humanities & Social Science, 33(3) กันยายนธันวาคม 2559

American Translation Association. (2021). Explanation of Error Categories. Retrieved June 14, 2021, Retrieved from

https://www.atanet.org/certification/how-the-exam-is-graded/errorcategories/

Arsyi, S. (2019). An Analysis of Translation Errors Made by the 6th Semester of English Education Program of English

department UNNES. (A final project for the degree of Sarjana Pendidkan). Universitas Negari Samarang.

CNN. (2014, January 5) March of the Penguins. Retrieved from https://transcripts.cnn.com/show/se/date/2014-01-

/segment/01Cúc, P. Thi K. (2018). An Analysis of Translation Error: A Case Study of Vietnamese EFL Students.

International Journal of English Linguistics, 8(1:2010), 22-28. http//doi.org/10.5539/ijel.v8nlp22

Dahl, R. (2012). The Landlady: A Roald Dahl Short Story. Penguin: United Kingdom. Duklim, B. (2022). Translation

Errors Made by Thai University Students: A Study on Types and Causes. rEFLections, 29(2), 344–360.

https://so05.tci-thaijo.org/index.php/reflections/article/view/259858

Koby, G. (2015). The ATA Flowchart and Framework as a Differentiated Error-Marking Scale in Translation Teaching.

In Cui, Ying and Wei Zhao, eds. Handbook of Research on Teaching Methods in Language Translation and

Interpretation. Hershey, 220-253, PA: IGI Global.

Koman, H. N. N., Hartono, R., & Yuliasri, I. (2019). Translation Errors in Students’ Indonesian-English Translation

Practice. English Education Journal, 9(2), 206–218.

Kurniawan, M. (2018). The Analysis of Interlingual and Intralingual Interference in Children’s Literature Translation

Project. Celt: A Journal of Culture, English Language Teaching & Literature, 18(2), 229-244.

Langridge, M. (2021, July 21). Life in the Future: Tech That Will Change the Way We Live. Retrieved from

https://www.pocket-lint.com/gadgets/news/142027-tech-innovations-thatwill-shortly-change-the-world

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-15 — Updated on 2022-11-21

Versions

ฉบับ

บท

Research Articles