การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานบูรณาการร่วมกับค่ายเสมือนจริง
DOI:
https://doi.org/10.58837/CHULA.PPJ.39.7คำสำคัญ:
การอ่านภาษาอังกฤษ, กิจกรรมเป็นฐานบูรณาการ, ค่ายเสมือนจริง, การสร้างประโยค, การใช้บริบทหรือสถานการณ์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูให้ถึงระดับ B1 ตามกรอบมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาจากประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (CEFR) จุดประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนก่อนและหลังได้รับการพัฒนาด้วยการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานบูรณาการร่วมกับค่ายเสมือนจริงจำนวน 3 วงจร มีประชากรจำนวน 425 คน ภายในแต่ละวงจรแบ่งกิจกรรมเป็นขั้นก่อนปฏิบัติงาน ระหว่างปฏิบัติงาน ขั้นหลังปฏิบัติงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละของผู้ที่สอบได้ในระดับ B1 ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ ในการสอบวัดความรู้เบื้องต้น (Placement Test) ผู้เข้าร่วมมีคะแนนความสามารถภาษาอังกฤษที่ B1 คิดเป็น ร้อยละ 1.2 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด ส่วนผลการวิจัยพบว่ามีจำนวนผู้ทำคะแนนการอ่านได้ถึงระดับ B1 เพิ่มขึ้น ในแต่ละวงจรมีดังต่อไปนี้ วงจรที่ 1 พบว่าผู้เข้าร่วมประสบปัญหาในด้านคำศัพท์ หลังจบการพัฒนาในวงจรที่ 1 ผู้เข้าร่วมได้รับการอบรมโดยเน้นในเรื่องคำศัพท์ คะแนนความสามารถภาษาอังกฤษที่ B1 คิดเป็นร้อยละ 13 วงจรที่ 2 ได้พัฒนาเรื่องการสร้างประโยค (Syntax) ผลการสอบได้คะแนนระดับ B1 คิดเป็นร้อยละ 33 วงจรที่ 3 หลังพัฒนาเรื่องการศึกษาหน่วยในภาษาที่อยู่ในระดับข้อความ จากการใช้บริบทหรือสถานการณ์ (Discourse) ผู้เรียนได้ระดับ B1 ร้อยละ 55 ของจำนวนผู้เรียนทั้งหมด
References
ขวัญเกล้า ศรีโสภา. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค CIRC เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาครู. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. 9(2), 93–106. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JGNRU/article/view/226054/162177
ณฐมน วงศ์ทาทอง. (2560). การพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยวิธีสอนอ่านแบบ SQ3R โดยใช้ข้อมูลอาเซียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1394/1/56253305.pdf
นิตยา ฉิมวงศ์. (2551). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการสอนตามปกติ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม].
นภัสสร ทองเจิม. (2561). ผลการใช้กลวิธีอภิปัญญาเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่ [วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่].
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
อรอุมา ธรรมวันนา. (2551). ผลการเรียน เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทำงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนบนเครือข่ายที่สร้างตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการเรียนปกติ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม].
Alderson, J. C. (2000). Assessing reading. Cambridge.
Anderson, N. (2009). Active reading: The research base for a pedagogical approach in the reading classroom. In Z. H. Han & N. Anderson (Eds.), Second language reading: Research and instruction (pp. 117–143). University of Michigan Press.
Bowey, J. A. (2005). Predicting individual differences in learning to read. In M. J. Snowling & C. Hulme (Eds.), The science of reading: A handbook (pp. 155–172). Blackwell Publishing. https://doi.org/10.1002/9780470757642.ch9
Bråten, I. (2007). Leseforståelse-komponenter, vansker og tiltak. In Leseforståelse (pp. 45–81). Cappelen.
Callahan, J. F. & Clark, L. H. (1988). Teaching in the middle and secondary schools (3rd ed.). Macmillan.
Candlin, C. (1987). Toward task-based language learning. In C. Candlin, & D. Murphy (Eds.) (pp. 5–22), language learning tasks. Prentice Hall.
DeKeyser, R. (ed.) (2007). Practice in a Second Language: Perspectives from Applied Linguistics and Cognitive Psychology. Cambridge University Press.
Grabe, W. (1999). Developments in reading research and their implications for computer adaptive reading assessment. In M. Chalhoub-Deville (Ed.), Issues in computer-adaptive testing of reading proficiency (pp. 11–47). Cambridge University Press.
Koda, K. (2005). Insights into second language reading: A cross-linguistic approach. Cambridge University Press.
Loman, N., & Mayer, R. (1983). Signaling techniques that increase the understandability of expository prose. Journal of Educational Psychology, 75(3), 402–412. https://doi.org/10.1037/0022-0663.75.3.402
Institute for Career Studies. (2021, February 11). 3 technologies that are making education more accessible. https://www.icscareergps.com/blog/blog-post/education-and-career-news-trends-from-around-the-world-february-11th-2021/
Nagy, W. (2007). Metalinguistic awareness and the vocabulary-comprehension connection. In R. K. Wagner, A. E. Muse, & K. R. Tannenbaum (Eds.), Vocabulary acquisition: Implications for reading comprehension (pp. 52–77). The Guilford Press.
Nation, K., & Snowling, M. J. (2000). Factors influencing syntactic awareness skills in normal readers and poorcomprehenders. Applied Psycholinguistics, 21(2), 229–241. https://doi.org/10.1017/S0142716400002046
Ngabut, M. N. (2015). Reading theories and reading comprehension. Journal on English as a Foreign Language, 5(1), 25–36. https://dx.doi.org/10.23971/jefl.v5i1.89
Nunan, D. (1985). Designing tasks for the communicative classroom. Cambridge University Press
Prabhu, N. S. (1987). Second language pedagogy. Oxford University Press.
Richards, J. (1984). The context of language teaching. Cambridge University Press.
Sideridis, G. D, Mouzaki, A., Simos, P., Protopapas, A. (2006). Classification of students with reading comprehension difficulties: The roles of motivation, affect, and psychopathology. Learning Disability Quarterly, 29(3), 159–180. https://doi.org/10.2307/30035505
Skehan, P. (1996). A framework for implementation of task-based instruction. Applied Linguistic. 17(1), 38–62. https://doi.org/10.1093/applin/17.1.38
Snow, C. E., Griffin, P., & Burns, M. S. (Eds.). (2005). Knowledge to support the teaching of reading. Jossey-Bass.
Valette, R. M. & Disick, R. S. (1972). Modern language performance object and individualization. Harcourt Brace Jovanovich.
Vygotsky, L. S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological processes. Harvard University Press.
Walker, G., Weidenbenner, J. V. (2019). Social and emotional learning in the age of virtual play: Technology, empathy, and learning. Journal of Research in Innovative Teaching & Learning, 12(2), 116–132. https:// https://doi.org/10.1108/JRIT-03-2019-0046
Willis, J. (1996). A Framework for task-based learning. De Henseler Books Publishers.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารภาษาปริทัศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.