ผลของการใช้กลยุทธ์การวิเคราะห์ประโยคเชิงคู่ความสัมพันธ์ในการตรวจทานการเขียนด้วยตนเองที่มีต่อความถูกต้องในการใช้ไวยากรณ์ของนิสิตในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง2

ผู้แต่ง

  • จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ประโยคเชิงคู่ความสัมพันธ์, หน่วยความหมาย, คู่ความสัมพันธ์ของรูปค่าภายในหน่วยความหมาย, คู่ความสัมพันธ์ของหน้าที่ระหว่างหน่วยความหมาย

บทคัดย่อ

           บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอผลการใช้กลยุทธ์การวิเคราะห์ประโยคเชิงคู่ความสัมพันธ์ในการตรวจทานการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่เป็นปัญหาด้วยตนเองของนิสิตชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 โดยศึกษาจาก 4 ชิ้นงานเขียน ตลอดภาคการศึกษา เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในการใช้ไวยากรณ์ที่เป็นปัญหาได้อย่างถูกต้อง ในกลุ่มทดลอง (Experimental Group) ที่ใช้
กลยุทธ์ Functional Sentence Analysis, FSA กับในกลุ่มควบคุม (Control Group) ที่ใช้กลยุทธ์ทั่วไป ทั้งในระดับชั้นคู่ความสัมพันธ์ของหน้าที่ระหว่างหน่วยความหมาย (B) และระดับชั้นคู่ความสัมพันธ์ของรูปคาภายในหน่วยความหมาย (W) โดยผู้สอนใช้เอกสารประกอบการสอนวิธีการใช้กลยุทธ์ FSA โดยใช้โปรแกรม SPSS/PC ในการหาค่าสถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าเฉลี่ย (means) และ ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)และ ใช้ในการหาค่าสถิติเชิงอนุมาน เพื่อหาค่าความแปรปรวนซ้า (Repeated Measure ANOVA) ผลการวิจัยพบว่าในกลุ่มทดลอง ในการจับคู่ความสัมพันธ์เชิงหน้าที่ (function) ระหว่างหน่วยความหมาย (Between Units of Meanings – B) ที่มีทั้งหมด 4 คู่ความสัมพันธ์[Vt][Obj], [Vi][Zero Obj], [Main Cl][Co Conj] [ Main Cl], [Main Cl][Sub Conj][Sub Cl]พบพัฒนาการของคู่ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มทดลอง ที่ใช้กลยุทธ์ FSA กับ กลุ่มควบคุมระหว่างชิ้นงาน (F(6,174) = 2.20 , p = .045) โดยพบว่า คู่ความสัมพันธ์แบบที่ 1 [Vt] [Obj]เป็นคู่ความสัมพันธ์ที่ผู้เรียนมีพัฒนาการในทุกชิ้นงาน และได้คะแนนดีกว่ากลุ่มทดลอง กลุ่มทดลอง นอกจากนี้ ในคู่ความสัมพันธ์ [Vi][Zero Obj] และ [Main Cl][Co Conj][Main Cl]พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติส่วนการจับคู่ความสัมพันธ์เชิงรูปค่า (form) ภายในหน่วยความหมาย (W-Within Units of Meanings) ที่มีทั้งหมด 10 คู่ความสัมพันธ์ คือ [(Det)(Sing CN)], [(Det)(UN)],[(Ving/Adj/Present Participle)(N)], [(N)(V.ing/Adj/Present Participle)], [(V.3/Adj/ Past Participle)(N)], [(N)(V.3/Adj/Past Participle)], [(Det)(Adv)(Adj) (N)(Prep) (Det) Adv)(Adj)N)], [(Adv) (V)], [(Adv) (Adj)], [(Adv) (Adv)] ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มระหว่างชิ้นงาน ของคู่ความสัมพันธ์ ที่ใช้กลยุทธ์ FSA แต่พบพัฒนาการระหว่างกลุ่ม ของ
คู่ความสัมพันธ์ (F(9,261) = 7.73 , p < .001) ใน 5 คู่ความสัมพันธ์ คือ [(Det)(Sing CN)],[(V.ing/Present Participle/Adj)(N)], [(Det)(Adv) (Adj)(N)(Prep)(Det)(Adv) (Adj)(N)],[(Adv)(V)[, [(Adv)(Adj)] ในกลุ่มทดลอง ที่มีคะแนนความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนั้นในงานวิจัยนี้ เล็งเห็นว่าการใช้กลยุทธ์ Functional Sentence Analysis (FSA) จึงควรใช้สาหรับนิสิตในการพัฒนาการเขียน และในอนาคตยัง
สามารถนากลยุทธ์นี้ไปพัฒนารูปแบบการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนทางภาษาอังกฤษต่อไปได้

References

ภาษาไทย

กมลวัน สังสีแก้ว. (2561). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.

URI:http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1322.

จรูญ เกนี่. (2549-2550). การประเมินผลความต่อเนื่องและความเหมาะสมของหลักสูตรรายวิชาไวยากรณ์และทักษะการ เขียน (Grammar and Writing Skills).

วารสารภาษาปริทัศน์, ปีที่ 23, ฉบับที่ 23.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2563). กลยุทธ์การวิเคราะห์ประโยคเชิงคู่ความสัมพันธ์: การตรวจการเขียนด้วยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2562). การใช้กลยุทธ์การวิเคราะห์ประโยคเชิงคู่ความสัมพันธ์ในการตรวจทานงานเขียน. วารสารภาษาปริทัศน์, ปีที่ 34 (ฉบับที่ 34).

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2556). การประเมินผลหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัยทางกฎหมาย รายงานการวิจัย. สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2539-2540). เทคนิคเพื่อการพัฒนาการเขียน วารสารภาษาปริทัศน์ปีที่ 16, (ฉบับที่ 16), หน้า 40.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2562). ผลการใช้กลยุทธ์ Functional Sentence Analysis (FSA)ในการตรวจทานการเขียนด้วยตนเอง ที่มีต่อความถูกต้องในการใช้ไวยากรณ์

ของนิสิตในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง II. รายงานการวิจัย.สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2557). มาตรฐานจรรยาบรรณคณาจารย์: การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และ ร่างประมวลจรรยาบรรณคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัยพ.ศ..... วารสารสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 42 (ฉบับพิเศษ), หน้า 70.

จุฑารัตน์ คัมภีรภาพ. (2547). ภาษา/การเมือง. The City Journal. ปีที่ 1 (ฉบับที่ 4), หน้า 9.

ดวงกมล ฐิตเวส. (2554). ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารในการสอน กฎไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาครูใน

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. URI:http://hdl..handle.net/123456789/146.

ทรงพร ทาเจริญศักดิ์. (2539-2540). นักศึกษากฎหมายต้องการอะไร. วารสารภาษาปริทัศน์ปีที่ 16 (ฉบับที่ 16), หน้า 61.

สุภาณี ชินวงศ์. (2542-5443). ความสามารถในการเขียนงานเชิงวิชาการของนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารภาษาปริทัศน์ ปีที่ 18 (ฉบับที่

-5443), หน้า 13.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2537). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการสื่อสารกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษ. รายงานการวิจัย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ ศรีวิชัย. (2555). ความผิดพลาดทางไวยากรณ์ที่พบในการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษของนักศึกษา. ใน มาลี คงวรรณนิติ และ คณะ. รายงานวิจัยฉบับที่ 259

เรื่องโครงการวิจัยในชั้นเรียน คณะศิลปศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 1/2553.มหาวิทยาลัยพายัพ.

ปาริชาติ นาคะตะ. (2542). คาและส่วนประกอบของคาภาษาอังกฤษที่มีรูปซ้ำหรือคล้ายคลึงกัน. รายงานการวิจัย. สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดิศรา กาติ๊บ. (2547). การสอนโครงสร้างประโยคเพื่อปรับปรุงการเขียนตอบคาถามอัตนัย.วารสารภาษาปริทัศน์, ปีที่ 21 (ฉบับที่ 21), หน้า 78.

อัจฉรา วงศ์โสธร. (2529). การวิจัยเพื่อพัฒนาแบบทดสอบอิงปริเฉทภาษาอังกฤษในระดับต่าง ๆ. สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉรา วงศ์โสธร. (2537). วิธีการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉรา วงศ์โสธร. (2556). การทดสอบและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ.กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์

ภาษาอังกฤษ

Abdulsata, P. (1999). An Error Analysis of Srinakharinwirot University Second-Year English Major Students Compositions. M.A.Thesis,

Srinakharinwirot Universiy.

Boompattanaporn, P. (2008). Comparative Study of English Essay Writing Strategies and Difficulties as Perceived by English Major Students:

A Case Study of Students in the School of Humanities. The University of The Thai Chamber of Commerce Academic Journal, 28(2), 76-90.

Butt et.al. (2000). Using Functional Grammar (Second Edition). Sydney:Macquirie University.

Collins. (1987). COBUILD English Language Dictionary. London and Glasgow: Collins.

Christian M.I.M, .Matthiessen. (2014). Revised Halliday, M.A.K. Introduction to Functional Grammar (Fourth Edition). London: Routledge.

Dickins, Pauline M., Rea and Edward G. Woods. (1988). Some Criteria for the Development of Communicative Grammar Tasks. TESOL

Quarterly, 22 (4),p.623-646.

Ellis, Rod. (1997). Second Language Acquisition in Context. Cambridge: Cambridge University Press.

Greenbaum, Sidney. (1996). Oxford English Grammar. New York: Oxford University Press.

Honsa, S. (2013). Self-assessment in EFL Writing: A Study of Intermediate EFL Students at a Thai University. Voices in Asia, 1(1), 34-57.

Kaweera, C. (2013). Writing Error: A Review of Interlingual and Intralingual Interference in EFL Context. English Language Teaching, 6, 9-18.

Krachen, Stephen D. (1987).Theoretical Research and Second Language Acquisition Theory. Methodology in TESOL: A Book of Reading.

Sydney: Newbury House Publishers.

Longman Dictionary of Contemporary English. (1978). London and New York: Longman.

Macquiries Dictionary, 3rd edition. (1977). Sydney: Macquarie Library Pty Ltd.

Michael Halliday. (1994). An Introduction to Function Grammar, 2nd edition. London: Edward Arnold.

Lock, Graham. (1996). Functional English Grammar: An Introduction for Second Language Teachers, Second Printing. USA: Press Syndicate of

University of Cambridge.

Rogers, Carl. Client Centered Therapy. Cited in H.Douglas Brown. Principles of Language Learning and Sermsook, K., Liamnimitr, J, and

Pochakarn, R. (2017). An Analysis of Errors in Written English Sentences: A Case Study of Thai EFL Students. Retrieved from:

http://www.scholar.google.co.th. English Language Learning. html. On February 8, 2017.

Stern, H.H. (1983). Fundamental Concepts of Language Teaching. England: Oxford University Press.

Sudruthai Arunsirot. (2013). An Analysis of Textual Metafunctional in Thai EFL Students’ Writing. Research on Youth and Language, 7 (2),

-174.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-05 — Updated on 2023-07-14

Versions

ฉบับ

บท

Review Articles