การรับรู้ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้จึงได้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการรับรู้ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์ และ 2. เพื่อศึกษาการส่งเสริมการรับรู้ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ระดับการรับรู้ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และระดับการส่งเสริมการรับรู้ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
Downloads
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
หมวดหมู่
Copyright & License
Copyright (c) 2024 วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ เนื้อหา และข้อมูลที่ลงตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ถือเป็นทัศนะ ข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความโดยตรง กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่รับผิดชอบในบทความนั้น
บทความทั้งหมดที่เผยแพร่แบบเปิดจะเปิดให้ทุกคนอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือลิงก์ไปยังบทความได้ฟรีทันทีและถาวร อนุญาตให้เข้าถึงได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้แต่งและสิ่งพิมพ์ต้นฉบับต้องมีการอ้างอิงอย่างถูกต้องและเหมาะสม
เจ้าของ (สำนักงานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์) ขอสงวนสิทธิ์ในการขอเปลี่ยนแปลงการตีพิมพ์เผยแพร่ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการตีพิมพ์แม้ว่าจะมีการตอบรับแล้วก็ตาม วารสารขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ตีพิมพ์ผลงานหากการตีพิมพ์ดังกล่าวส่งผลความผิดทางกฎหมายหรือการละเมิดจริยธรรมการตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการ และหากวารสารตัดสินใจที่จะไม่เผยแพร่ผลงาน จะไม่คืนค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ (APC) และหลังจากที่วารสารการปฏิเสธการตีพิมพ์ ผู้นิพนธ์มีสิทธิ์ที่จะส่งบทความไปยังวารสารอื่นได้
References
กษิรา ภิวงศ์กูร. (2562). ภูมิปัญญาชนเผ่า หมู่บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม. ดุษฎีนิพนธ์. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554/เอกสารเพิ่มเติม/การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.PDF.
เครือจิต ศรีบุญนาค, ปิ่นเพชร ชูทรงเดช, วารุณี สุวรรณานนท์. (2540). ซัมป็อตโซ้ด : ผ้านุ่งไหมชาวไทยเขมรสุรินทร์. รายงานการวิจัย. สุรินทร์ : สถาบันราชภัฏสุรินทร์.
ณดา สวัสดี. (2561). การศึกษาและพัฒนาลายผ้าทอเพื่อสร้างสรรค์อัตลักษณ์ใหม่ผ้าไหมไทย. ปริญญานิพนธ์. ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัชชาภัทร เวียงแสง. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครขอนแก่น. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 16(3), 133 - 142.
ดารินทร์ คำพันธ์ และ สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง. (2565). การสื่อสารอัตลักษณ์สินค้ากระเป๋าโอทอปของกลุ่มผู้ผลิตและผู้ประกอบการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 16(1), 44 - 68.
ประยูรศรี บุตรแสนคม. (2561). การคัดเลือกตัวแปรพยากรณ์เข้าในสมการถดถอยพหุคูณ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1), 43 - 60.
ภจิวัฒน์ บูรณ์เจริญ, ชลธิชา แก้ววัน, วิจิตรา โพธิสาร, สุรางคนา ถือคุณ, อริญา เสพสุข. (2566). อิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อแรงจูงใจสวมใส่ผ้าไทยของเยาวชนในสถานศึกษาจังหวัดสุรินทร์. Asian Journal of Traditional and Innovative Arts and Textiles, 2(2), 40 - 54.
ภัทรีพันธุ์ พันธุ, วรัญญา พรหมสาขา ณ สกลนคร, พิมทรัพย์ พิมพิสุทธิ์. (2564). การส่งเสริมเอกลักษณ์ลวดลายผ้าเขียนเทียนชาวม้งสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน ตำบลแม่เปา อำเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย. วารสารนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 5(1), 147 - 172.
รณาวรรณ สุขแสวง และ นาตยา โสนทอง. (2566). สรุปข้อมูล 10 ลายผ้าโบราณ จังหวัดสุรินทร์ ในโครงการหมู่บ้านราชภัฏชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ปีงบประมาณ 2566. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ศรวัสย์ สมสวัสดิ์, จิรนันท์ บุพพัณหสมัย, ณัฐพงษ์ ศรีใจวงศ์. (2565). การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาการทอผ้าฝ้ายลายงาขี้ม้อน อ.แม่ทะ จ.ลำปาง. วารสารการบริหารและสังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(4), 73 - 84.
สมบัติ สมัครสมาน. (2565). ศาสตร์ศิลป์สีเพื่อการออกแบบลวดลายสีสันผ้าไหมมัดหมี่ปูมโบราณและปิดานผสานการย้อมโอนสีหกสีตามธรรมเนียมปฏิบัติภูมิปัญญาชนชาวเขมรโบราณ. วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล, 11(2), 35 - 48.
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสุรินทร์. (2565). ประกาศลายผ้าที่เป็นอัตลักษณ์ประจำจังหวัดสุรินทร์ [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2566, จาก https://surin.prd.go.th/th/content/page/index/id/75885.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์. (2565). ผ้าไทยลายอัตลักษณ์จังหวัดสุรินทร์ ภูษาศิลป์ จากท้องถิ่นสู่สากล [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2566, จาก https://anyflip.com/wgjii/zaxz.
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2565). สถิติจำนวนประชากรและบ้าน [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statyear/#/TableTemplate3/Area/statpop?yymm=65&ccDesc=จังหวัดสุรินทร์&topic=statpop&ccNo=32.
เสาวนิตย์ กาญจนรัตน์. (2560). การรับรู้คุณค่าและความคาดหวังของบุคคลต่างประสบการณ์ที่มีต่อลวดลายผ้ามัดย้อมเชิงวัฒนธรรม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 37(2), 31 - 50.
อัชราพร สุขทอง, อัจฉรา สุทธิสนธ์, กฤติกา ธรรมวิเศษ, ยุวดี พลศฺริ, จำนงค์ จันทร์เขียว, สุภาวดี หลวงกลาง, สุดใจ สะอาดยิ่ง. (2566). การศึกษามรดกภูมิปัญญาการทอผ้าไหมพื้นเมือง สู่การสร้างสรรค์การแสดงชุด“ระบำทอผ้าไหมเมืองสุรินทร์” บ้านท่าสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 25(1), 145 - 162.
อัญชลี จันทาโภ, เสรี เพิ่มชาติ, วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา, พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์. (2556). การจัดการความรู้เพื่อสร้างสรรค์คุณค่าผ้าจกราชบุรี. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 1(3), 183 - 194.
บุคลานุกรม
เกษรา นุชาญรัมย์ (ผู้ให้สัมภาษณ์). รณาวรรณ สุขแสวง (ผู้สัมภาษณ์). ที่ บ้านสวาย ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000. สัมภาษณ์วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566.
ประไพ สุขศรี (ผู้ให้สัมภาษณ์). รณาวรรณ สุขแสวง (ผู้สัมภาษณ์). ที่ บ้านสวาย ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000. สัมภาษณ์วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566.
นงเยาว์ ทรงวิชา (ผู้ให้สัมภาษณ์). รณาวรรณ สุขแสวง (ผู้สัมภาษณ์). ที่ บ้านนาตัง ตำบลเขวาสินรินทร์ อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000. สัมภาษณ์วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566.