การเปิดรับสื่อ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม การบริโภค Plant-based Food ของกลุ่มวัยทำงาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อ ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมการบริโภค Plant-based Food ของกลุ่มวัยทำงาน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มวัยทำงานที่เคยบริโภค Plant-based Food อย่างน้อย 6 เดือนที่มี อายุระหว่าง 18-60 ปี จำนวน 300 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26-35 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน / องค์กรมหาขน / องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 50,000 บาทขึ้นไป ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การเปิดรับสื่อเกี่ยวกับ Plant-based Food มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความรู้เกี่ยวกับการบริโภค Plant-based Food ของกลุ่มวัยทำงาน ความรู้เกี่ยวกับ Plant-based Food มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติที่มีต่อการบริโภค Plant-based Food ทัศนคติที่มีต่อการบริโภค Plant-based Food มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการบริโภค Plant-based Food และแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภค Plant-based Food ของกลุ่มวัยทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์บทความ
References
ภาษาไทย
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2564). Plant-based Food อาหารแห่งโลกอนาคต. เพนนินซูลาร์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด.
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). 3 อ. ดูแลสุขภาพคนวัยทำงาน เตรียมตัวสู่ผู้สูงวัยคุณภาพ. https://www.bangkokbiznews.com/health/997489
ณชพัฒน์ อัศวรัชชนันท์. (2554). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการเครื่องจำหน่ายน้ำดื่มหยอดเหรียญในจังหวัดนนทบุรี. http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2554_Market_Nachaphat.pdf.
นัฐพล ตั้งสุภูมิ. (2565). Plant-based Food หรืออาหารจากพืช. https://www.88cannatek.com/article/739.
นันทริกา ไปเร็ว. (2557). ความรู้และทัศนคติที่มีต่อพฤติกรรมที่จะเลือกใช้บริการ Internet Banking ของลูกค้าธนาคารออมสินในจังหวัดลำปาง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ปวีณา วงษ์ชอุ่ม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตภาคปกติมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. (งานนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
มินเทล. (2560). เทรนด์สุขภาพมาแรง คนเมืองยุคใหม่ตั้งเป้าชีวิตดีมีสุข. https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/4405.
วิยะดา เมืองคำ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์กับทัศนคติเกี่ยวกับการทำศัลยกรรมบนใบหน้าเพื่อความงามของผู้หญิงวัยทำงาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). โอกาสทำเงินเกาะกระแสอาหารสุขภาพ. https://www.kasikornbank.com/HealthyFoodBusinessGrowth.pdf
ศรันถ์ ยี่หลั่นสุวรรณ. (2558). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และแนวโน้มพฤติกรรมที่มีต่อโครงการส่งเสริมสังคม ของผู้นำเยาวชนประเทศอาเซียนและ ญี่ปุ่น ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก (Facebook). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุชาวดี ณรงค์ชัย. (2563). ความรู้ทัศนคติและความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ออร์แกนิคสำหรับดูแลผิวพรรณและเส้นผมของผู้บริโภค. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2533). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรูทัศนคติและพฤติกรรม. http://www.novabizz.com/NovaAce/Attitude.htm
สถาบันอาหาร. (2564). เทรนด์ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ปี 2022. http://fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomesticDetail.php?id=350.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2552). วัยทำงานกับการดูแลสุขภาพ. http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages.aspx.
อนัญญา สงวนศักดิ์. (2547). การเปิดรับข่าวสารความรู้และทัศนคติต่อสมุนไพรไทยของประชาชน เขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภาษาต่างประเทศ
Hawkins, I. D. and Mothersbaugh, L. D. (2010). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy. Macgraw-Hill/ Irwin.
Schiffman, L. G. and Kanuk, L. L. (2010). Consumer Behavior. 9th ed. Englewood Cliffs, Pearson Prentice Hall.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Harper & Row.