การศึกษารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน ในการเสริมสร้างความเข้าใจด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษา สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้แต่ง

  • วัชราภรณ์ เกตุช้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
  • ธีรพงษ์ จันเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
  • เจนวิทย์ วารีบ่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

DOI:

https://doi.org/10.58837/CHULA.PPJ.39.3

คำสำคัญ:

รูปแบบการเรียนการสอน, ห้องเรียนกลับด้าน, ความเข้าใจด้านการอ่านภาษาอังกฤษ, นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ, มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในด้านการอ่านภาษาอังกฤษระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านในการเสริมสร้างความเข้าใจด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีต่อรูปแบบการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ที่ลงทะเบียน ในรายวิชาการอ่านเพื่อการคิดวิเคราะห์สำหรับครูภาษาอังกฤษ จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบทดสอบเพื่อวัดความเข้าใจด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนกลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนความเข้าใจในด้านการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้เรียนที่ได้รับการเรียนรู้จากการสอนตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการสอนอยู่ในระดับมาก

References

จันทิมา ปัทมธรรมกุล. (2557). Flipped classroom. https://piyanutphrasong025.wordpress.com.

จันทิมา มะเกลี้ยง. (2560). รูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีบูรณาการของเมอร์ด็อคร่วมกับเทคนิคห้องเรียนกลับทางสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

จันทรพิมพ์ รังษี. (2565). การพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยการใช้เทคนิค SQ6R ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิชาภา บุรีกาญจน์ และเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. (2557). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับด้านที่มีผลต่อความรับผิดชอบและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(2), 768–782.

ธัญญาศิริ สิทธิราช และรพีพร สร้อยน้ำ. (2565). Using flipped classroom to improve matthayomsuksa 4 students’ english reading comprehension ability. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 8(2), 191–208

ธีรภัทร พึ่งเนตร. (2557). เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาการใช้โปรแกรมฐาน ข้อมูลเรื่องการสร้างแบบสอบถาม (Query) โดยใช้เทคนิคการสอนกลับด้านบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ. วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ. http://www.siba.ac.th/home/wp-content/uploads/2016/01/re_011.pdf

นงค์นาถ ชาววัง. (2551). การสำรวจปัญหาการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1, 2, 3, และ 7. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

เนาวรัตน์ นุ่มอุรา. (2544). การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและมนุษยสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนตามรูปแบบ ERICA MODEL และการสอนตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

เมธาวี ปัญญาจันทร์สว่าง และสุรัตนา อดิพัฒน์. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คําศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(6), 105–116.

รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์ และณัฐพล รำไพ. (2563). การพัฒนารูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ในระดับปริญญาตรี. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 14(2), 189–203.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. ตถาตาพับลิเคชั่น.

สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2544). แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สุภาพร ยิ้มวิไล. (2551). การศึกษาความสามารถและปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการคณะมนุษย์และ สังคมศาสตร์, 4(2), 130–148.

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2542). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อำนาจ บุญศิริวิบูลย์. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Broughton, G., Brumfit, C., Flavell, R., Hill, P., & Pincas, A. (1978). Teaching English as a foreign language. Routledge & Kegan Paul.

Grabe, W. (1991). Current developments in second language reading research. TESOL Quarterly, 25(3), 375–406.

Gradman, H. L., & Hanania, E. (1991). Language learning background factors and ESL proficiency. The Modern Language Journal, 75(1), 39–51.

Hirano, E. (2015). I read, I don’t understand: Refugees coping with academic reading. ELT Journal, 69(2), 178–187.

Levine, L. E., Fallahi, C., Nicoll-Senft, J. M., Tessier, J., Watson, C. L., & Wood, R. M. (2008). Creating significant learning experiences across disciplines. College Teaching, 56(4), 247–254.

Mayers, M., & Paris, S. G. (1978). Children’s metacognitive knowledge about reading. Journal of Educational Psychology, 70(5), 680–690.

Nuttall, C. (1996). Teaching reading skills in a foreign language. Heinemann.

Phantharakphong, P., & Pothitha, S. (2014). Development of English reading comprehension by using concept maps. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116, 497–501.

Tucker, M. D. (2013). Investigating the efficacy of a Flipped science classroom. Master Thesis of Science, Montana State University, Canada.

Han, Y. J. (2015). Successfully flipping the ESL classroom for learner autonomy 1. NYS TESOL Journal, 1, 98–109.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-04

How to Cite

เกตุช้าง ว., จันเปรียง ธ., & วารีบ่อ เ. (2024). การศึกษารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน ในการเสริมสร้างความเข้าใจด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษา สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารภาษาปริทัศน์, 39, 46–69. https://doi.org/10.58837/CHULA.PPJ.39.3

ฉบับ

บท

Research Articles