ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3

ผู้แต่ง

  • ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมชุมชนผู้ประกอบการการท่องเที่ยว และการศึกษาสถาบันเทคโนโลยีภาคตะวันออกแห่งสุวรรณภูมิ และสถาบันนวัตกรรมทางการศึกษา สมาคมส่งเสริมการศึกษาทางเลือก
  • มณีพลอยไพริน พิศจะโปะ ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมชุมชนผู้ประกอบการการท่องเที่ยว และการศึกษาสถาบันเทคโนโลยีภาคตะวันออกแห่งสุวรรณภูมิ และสถาบันนวัตกรรมทางการศึกษา สมาคมส่งเสริมการศึกษาทางเลือก

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม, ผู้บริหารสถานศึกษา, ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน และวุฒิการศึกษา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3  ในปีการศึกษา 2565 จำนวน 270 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ในปีการศึกษา 2565 จำนวน 127 คน ทำการกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ตาราง เครนซี่และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ตามสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างในแต่ละโรงเรียนจนครบตามจำนวนที่กำหนด วิธีดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้น ได้แก่ 1) ศึกษาปัญหาการวิจัย 2) การออกแบบการวิจัย 3) การเก็บรวบรวมข้อมูล และ 4) วิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามชนิดประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ 1) ความถี่ร้อยละ 2) ค่าเฉลี่ย 3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 4) ทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที

ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก และการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน และวุฒิการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ที่ไม่แตกต่างกันทั้ง 4 ด้าน

References

กุลชลี จงเจริญ. (2562). หน่วยที่ 12 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คมศิลป์ ประสมสุข. (2557). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บริหาร โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขต ตรวจราชการที่ 11. [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

จีราภา ประพันธ์พัฒน์. (2560). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. [วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2565). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เกี่ยวกับทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 14(2), 81-106.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และรุ่งทิวา ชูทอง. (2563). นวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 4(1), 103-125.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, จุฑารัตน์ นิรันดร, ณัฐวุฒิ อัตตะสาระ, ปิยพัทธ์ สุปุณณะ และจันทนา มุกดาศุภณัฏฐ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่อง การปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์. 5(2), 22-32.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชมภูนุช พัดตัน, กาญมณี เพ็ชรมณี, ณภาพัช ราโชกาญจน์ และศุภชัยรวมกลา กอบการณ์อาจประจันทร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุก จังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์. 2(3), 41-52.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชัชวนันท์ จันทรขุน, จิรวดี เหลาอินทร์, พรทิพย์ คุณธรรม และมนัสชนก ยุวดี. (2565). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาภาษาไทย เรื่อง หลักการใช้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน (พูนราษฎร์อุปถัมภ์) อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 15(2), 49-63.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ทรงชัย ชิมชาติ, หยาดพิรุณ แตงสี, อมรเทพ สมคิด และชาญวิทย์ อิสรลาม. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1), 47-58.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ และดรุณี ปัญจรัตนากร. (2563). องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารบริหารศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 9(2), 128-143.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, รุ่งทิวา ชูทอง, ชณทัต บุญรัตนกิตติภูมิ และกนกอร บุญมี (2564). คุณลักษณะของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาที่มีอิทธิพลต่อความทุ่มเทในการทํางานของบุคลากรทางการศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระราชูปถัมภ์. 15(1), 53-65.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, วารินทร์ อิทธิพล, ทรงยศ เพ็ญศิริ และขวัญเดือน พรหมศร. (2565). การพัฒนาบทเรียนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องการทําเครื่องปั้นดินเผาของชาวมอญเกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1), 1-16.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, วีรเทพ ชลทิชา, วัชร์ธิดา ศิริวัฒน์ และศิริวัฒน์ ม่วงศิริ. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ (VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสําหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 30(2), 25-38.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. 3(3), 211-225.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ และกมลมาลย์ ไชยศิริธัญญา. (2564). การศึกษาองค์ประกอบของการจัดองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล สำหรับสถาบันการอาชีวศึกษาที่เหมาะสมในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. 10(2), 20-35.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ และจิรนันท์ ใหญ่ลำยอง. (2565). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบปรับตัวของผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษามืออาชีพภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่และวิถีถัดไปในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารพุทธมัคค์ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา. 7(1), 193-207.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, แสงระวี จรัสน้อยศิริ, สุรพล หิรัญพต และแก้วใจ พิชชามณฑ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M-Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ. 5(3), 28-40.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, อภิสิทธิ์ อรอนงค์ และอพิเชษฐกิจ ปวีณา. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 14(2), 28-42.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, อรอนงค์ พงษ์กลาง, มธุรส สกุลทอง, ปวันรัตน์ ทรงนวน และพัทธกฤษฏิ์สมจิตพันธโชติ อนุรุทธ์หรรษานนท์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาสื่อการเรียนรู้ เรื่อง ระบบสุริยะ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองขวางจังหวัดตราด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 5(2), 26-38.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). รูปแบบการบริหารสู่ความเป็นเลิศของสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 15(1), 86-106.

ณิชดาพร หวานสนิท. (2565). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สงขลา สตูล. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7(2), 23-33.

วิชุดา บุญเทียม. (2565). การศึกษาภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 8(1), 174-185.

สุพรรษา แก้วสีหมอก. (2565). ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนกลุ่มสหวิทยาเขตนวลจันทร์สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2, 7(8), 420-435.

สุพิชชา พูกันงาม. (2559). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 4(3), 330-345.

เอกนรินทร์ คงชุม, ธนาดล สมบูรณ์, วีระ วงศ์สรรค์, ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแกะสลักผักและผลไม้ลายกุหลาบ โดยใช้สื่อวิดีทัศน์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลมะนัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล เขต 1. วารสารวิจยวิชาการ. 6(1), 79-90.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.

Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05/01/2024