ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • เกศมณี เครือบุญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พิมพ์ชนก นามนิล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ปรียาภรณ์ แพงพงมา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • รัฐฐา สุขเกษม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ณัฐชา เพ็ชรักษ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • จันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การพัฒนา, ศตวรรษที่ 21, ทักษะ, ศาสตร์พระราชา

บทคัดย่อ

         บทความวิชาการนี้เป็นการศึกษาศาสตร์พระราชาเพื่อนำมาพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 การใช้ศาสตร์พระราชาคือ การใช้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่จะพัฒนา ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชน รวมถึงสถานศึกษา บุคคลากร และผู้เรียน ให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมั่นคง สันติสุข และยั่งยืน ศาสตร์พระราชาในการพัฒนานั้น คือ การน้อมนำหลักองค์ความรู้ 6 มิติ และหลักการทรงงาน 23 ประการมาใช้ศาสตร์พระราชาทั้ง 2 นี้ เป็นการพัฒนาตามหลักการองค์ความรู้และเป็นวิธีการที่มีคุณค่ายิ่ง เป็นแนวทางที่สามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานหรือธุรกิจและสร้างความสำเร็จขององค์กร เมื่อได้นำมาเป็นแนวทางปฏิบัติในการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม ทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เน้นทักษะการใช้ชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพร้อมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง รวมไปถึงให้นักวิชาการทั่วโลกได้ทำความเข้าใจการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพบริบทต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง โดยใช้ความคิด การปรับตัว การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่สามารถใช้การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วได้ แต่ต้องอาศัยการฝึกฝนให้ตนเอง มีภูมิคุ้มกันที่สามารถปรับตัวเข้ากับทุกสถานการณ์ได้เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสมต่อยุคสมัยทั้งในปัจจุบันและอนาคต

References

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. (2564). ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาพื้นที่เพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ. ค้นเมื่อ มีนาคม 11, 2564, จาก

http://www.dsdw2016.dsdw.go.th

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แนวทางการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริม

กิจการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

โครงการพระราชดาริ. หลักองค์ความรู้ 6 มิติ. ค้นเมื่อ มีนาคม 11, 2564, จาก https://m.facebook.com>permalink

จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อ มีนาคม 18, 2564, จาก http://www.royin.go.th/?knowledges.

ธรรมนิติ. (2563). หลักการทรงงาน 23 ประการ ของในหลวงรัชกาลที่ 9. ค้นเมื่อ มีนาคม 24, 2564, จาก https://www.dharmniti.co.th/หลักการทรงงาน-23-ประการ

ของในหลวงรัชกาลที่-9/

เบลลันกา, เจมส์และแบรนด์, รอน. (2553). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21.แปลจาก 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn

(Leading Edge). โดย อธิป จิตตฤกษ์ และวรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส. 6

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.“ศาสตร์พระราชา”

ศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร.(2561). ค้นเมื่อ มีนาคม 11, 2564, จาก http://www.pepgtakesa2.com/pgq56/files/

เล่มศาสตร์พระราชา 2.pdf

สุภัทรา บุญปัญญโรจน์. (2550, มกราคม- ธันวาคม). ภาวะบริโภคนิยมของวัยรุ่นไทย: ปัจจัยผลักดันสู่สังคมไทย. วารสารรามคําแหง, 27 (1), 1-2 สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). รายงานของคณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ เรื่อง "การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์

พระราชาเพื่อการปฏิรูปประเทศ". กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รัฐสภา.

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)และมูลนิธิมั่นพัฒนา. (2562). หลักการทรงงาน. ค้นเมื่อ มีนาคม 11,

, จาก http://www.rdpb.go.th/th/King

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงานบริหารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2555). แนวทางการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: โรง

พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-06-2021

How to Cite

เครือบุญ เ. ., นามนิล พ., แพงพงมา ป., สุขเกษม ร., เพ็ชรักษ์ ณ., & ภูติอริยวัฒน์ จ. (2021). ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 11(1), 45–58. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/HUSO-J/article/view/1030