การใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
คำสำคัญ:
ทุนทางวัฒนธรรม, การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน, เศรษฐกิจพอเพียงบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ ศึกษาทุนทางวัฒนธรรมที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันมีมูลค่าและมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติได้สั่งสมสืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีลักษณะเป็นสิ่งที่จับต้องได้และสิ่งที่จับต้องไม่ได้ ทั้งยังมีความหลากหลายทางอัตลักษณ์แตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน นอกจากนี้ยังศึกษาแนวคิด องค์ประกอบ กระบวนการพัฒนาชุมชน และแนวทางการใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่า การใช้ทุนทางวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือยุทธวิธีที่สำคัญในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีแนวทางการจัดการหลากหลายขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ กรณีศึกษาชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชุมชน ได้แก่ ชุมชนตำบลบ้านตุ่น จังหวัดพะเยา ชุมชนบ้านวังหอน จังหวัดนครศรีธรรมราชและชุมชุนในจังหวัดหนองคาย โดยนำทรัพยากรต้นทุนทางวัฒนธรรมทั้งทางตรงและทางอ้อมที่มีอยู่เดิมในพื้นที่มาปรับใช้ พัฒนาชุมชนสู่ความยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม และสร้างผลกระทบด้านบวกต่อการพัฒนาในระดับประเทศ
References
กมลทิพย์ พงษ์พิพัฒน์วัฒนา. (2560). ตัวชี้วัดความยั่งยืนสำหรับกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย: กรณีศึกษากิจการเพื่อสังคมด้านอาหาร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2554, มกราคม-มีนาคม). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนทางวัฒนธรรมและโอกาสทางธุรกิจวารสารนักบริหาร, 31 (1), 36. ค้นเมื่อ มีนาคม 13, 2564, จาก
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_11/
ขวัญเรือน บุญกอบแก้ว. (2562). แนวทางการปรับใช้ทุนทางวัฒนธรรมในการพัฒนาชุมชนบ้านวังหอน ตำบล วังอ่าง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (ฉบับพิเศษ), 188-209. ค้นเมื่อ มีนาคม 17, 2564, จาก https://so02.tci-thaijo.org/
index.php/human_ubu/article/view/233079
จักรแก้ว นามเมือง. (2551). ทุนทางวัฒนธรรมในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดนวสาส์นการพิมพ์.
ชวดี โกศล. (2561). การบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.
ไชยฤทธิ์ อนุชิตวรวงศ์. (2561). การศึกษาแนวทางการปรับปรุงการดำเนินนโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยเพื่อตอบสนอง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. ปริญญานิพนธ์. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. ค้นเมื่อ มีนาคม 19, 2564, จาก
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/8387e.html
ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน Theory and Principle of Community Development. ค้นเมื่อ มีนาคม 19, 2564, จาก
http://www.academy.rbru.ac.th/uploadfiles/books/58-2018-08-01-08-41-20.pdf
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2547). ทุนสังคม และทุนทางวัฒนธรรมในระบบเศรษฐกิจและการจัดการยุคใหม่.พิษณุโลก: คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ธนัทณัฏฐ์ ฉัตรภัครัตน์. (2551). การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวทางและวิธีการที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ไทยพัฒนา.
บานชื่น นักการเรียน. (2559). การพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development. วารสารสิรินธรปริทัศน์, 17 (2), 64-69. ค้นเมื่อ มีนาคม 13, 2564, จาก
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jsrc/article/view/211501/146524
เปรมชัย จันทร์จำปา. (2558). การจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเมืองในเขตเทศบาลนครสงขลา. วิทยานิพนธ์นิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
บริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม