การศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • สุคนทิพย์ เทียนชัยพน มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สุมิตรา ดีเลิศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สุวนันท์ ทองอินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สําราญ มีแจ้ง มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ปัจจัย, ความผิดพลาด, การเขียนภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ผลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษ 1) ด้านความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษพบว่านิสิตมีความสามารถในระดับปานกลางได้แก่ ความสามารถในการ
เขียนภาษาอังกฤษและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนอ้างอิงภาษาอังกฤษ 2) ด้านการเขียนภาษาอังกฤษ พบว่า ระยะเวลาที่กระชั้นชิดทำให้นิสิตเกิดความกังวลว่าจะทำเสร็จไม่ทันเวลาและความกังวลเรื่องหลักไวยกรณ์ภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับมาก 3) ด้านทัศนคติที่มีต่อการเขียนภาษาอังกฤษพบว่า นิสิต
ชอบการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งสามด้านนั้นเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษ

References

กะรัตเพชร คงรอด. (2560). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านการใช้คำในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรี. ค้นเมื่อ มิถุนายน 22, 2564, จาก

http://ithesisir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1400/1/56254201.pdf

ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการเขียนภาษาอังกฤษและวิธีหลีกเลี่ยง. (ม.ป.ป.). ค้นเมื่อ กรกฎาคม 19, 2564, จาก https://englishlive.ef.com/th-th/blog/study-

tips/common-mistakes-inwritten-english-and-how-to-avoid-them-2/

จิตพิสุทธิ์จันตะคุต. (2555). ความสำคัญของภาษาอังกฤษ. ค้นเมื่อ มิถุนายน 22, 2564, จาก https://sites.google.com/site/krujitpisut/khwam-sakhay-khxng-

phasa-xangkvs

จิราวดี ทองประศรี. (2560). การพัฒนาความสามารถในการพูดสนทนาภาษาอังกฤษ โดยใช้สื่อผสมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 วิทยาลัยเทคโนโลยี

ปัญญาภิวัฒน์. ค้นเมื่อมิถุนายน 22, 2564, จาก https://bit.ly/3itlog4

ณัฐภัทร เกียรติกังวาฬไกล. (2561). ภาษาอังกฤษกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 19, 2564, จาก

http://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/10843

ผ่องเพ็ญ เบญจาทิกุล. (2556). ความหมายและความสำคัญของการเขียน. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 17, 2564, จาก https://bit.ly/3oicpSB

เฟสเฑอเลอร์เอ็ดดูเคชั่น (Festallor Education). (2563). ความสำคัญของภาษาอังกฤษในด้านต่าง ๆ. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 19,2564, จาก https://www.festallor-

edu.com/post/why-english-isimportant

วันทนี แสงคล้ายเจริญ. (2561). การศึกษาข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ในงานเขียนภาษาอังกฤษและกลยุทธ์ในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร

บัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ค้นเมื่อ มิถุนายน 22, 2564, จาก https://bit.ly/3AX7v0X

สุคนธา ฟูสุวรรณ. (ม.ป.ป). การศึกษาข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ค้นเมื่อ มิถุนายน 22, 2564, จาก http://huso.vru.ac.th/mis/upload/teacher/files/master-230-

pdf

หัสชัย สิทธิรักษ์. (2552). ความสำคัญของการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 17,2564, จาก

http://www2.nstru.ac.th/nstru2011/show_news_ex.php?id=11365

อรรชนิดา หวานคง. (2559). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 English Teaching in the 21 st Century. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 17,2564, จาก

https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/download/184935/130126/Kiptui, D. K. & Mbugua, Z. K. (2009). Factors that contribute to

poor academic achievement in English in Kerio valley Schools,Kenya. Journal of Educational Management, 1 (2), 1-15.

O’Malley, J. M. & Chamot, A. U. (1990). Learning strategies in second language acquisition. Cambridge: Cambridge University Press.

Oxford, R. L. (1990). Language learning strategies: What every teacher should know. New York: Newbury House/Harper Collins.

Wenden, A. & Rubin, J. (1987). Learner strategies in language learning. New Jersey: Prentice Hall.

Wu, M. M. F. (2008). Language learning strategy use of Chinese EFL learner of Hong Kongfindings from a qualitative study. Electronic Journal of

Foreign LanguageTeaching, 5 (1), 68-83.

2.1 การศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร-photo

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2021

How to Cite

เทียนชัยพน ส., ดีเลิศ ส., ทองอินทร์ ส., & มีแจ้ง ส. (2021). การศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 11(2), 1–12. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/HUSO-J/article/view/1034