ปัญญาประดิษฐ์และกลไกการเรียนรู้กับการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
คำสำคัญ:
ปัญญาประดิษฐ์, กลไกการเรียนรู้, มรดกทางวัฒนธรรมบทคัดย่อ
บทความนี้เสนอแนวทางในการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และกลไกการเรียนรู้ (Machine Learning: ML) มาประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมทั้งในแบบที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ โดยมุ่งหวังว่าเทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม เพื่อให้การนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเป็นไปอย่างเหมาะสม จำเป็นต้องมีการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม รวมถึงการร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญในด้านที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การนำเทคโนโลยีเหล่านี้มีความเหมาะสมในบริบทของมรดกทางวัฒนธรรมและสามารถปฏิบัติตามหลักจริยธรรมและความอ่อนไหวทางวัฒนธรรมของแต่ละรายการมรดกได้
References
กรมศิลปากร, กลุ่มเผยแพร่ฯ. (2561). จุดเริ่มต้นของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สู่มรดกโลกทางวัฒนธรรม. ค้นเมื่อ เมษายน 1, 2566, จาก https://www.silpa-mag.com/history/ article_16192
กรุงเทพมหานคร. (2566). กรุงเทพมหานคร: จุดหมายปลายทางแห่งการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 10, 2566, จาก https://pr-bangkok.com/?p=133714
ไทยพับลิกา. (2562). บ่อน้ำมันที่เมืองโบราณศรีเทพ หายนะที่ไม่ใช่แค่เรื่องการยื่นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรม. ค้นเมื่อ มีนาคม 1, 2566, จากhttps://thaipublica.org/2019/02/econoarchaeology9/
ธนนันธ์ บุ่นวรรณา. (ม.ป.ป). การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม. ค้นเมื่อ มีนาคม 3, 2566, จาก https://1tambon.kku.ac.th/files/km_items/files/65/1.2_การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม_Word.pdf?1619490936
ประชาชาติธุรกิจ. (2565, มกราคม 20). เปิดวิธีสมัคร M-flow. ค้นเมื่อ มีนาคม 1, 2566, จาก https://www.prachachat.net/general/news-866771
พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504. (2504). ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 78). ตอนที่ 66 ก. (29 สิงหาคม)
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559. (2559). ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 133). ตอนที่ 19 ก. (1 มีนาคม)
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ค้นเมื่อ มีนาคม 1, 2566, จาก https://dictionary.orst.go.th/
เวิร์คพอยท์ทูเดย์. (2561). ยูเนสโกขึ้นทะเบียนโขนมรดกโลก. ค้นเมื่อ มีนาคม 1, 2566, จาก https://workpointtoday.com/ยูเนสโก-ขึ้นทะเบียน-โขน/
สมเกียรติ สุภัคดำรงกุล. (2556). แนวทางการจัดการและสื่อความหมายโบราณสถานป้อมในเมืองพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อัศนีย์ ต่อตระกูล และคณะ. (2541). การประมวลผลภาษามนุษย์ด้วยคอมพิวเตอร์. วรสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 6 (1), 94-105.
อิทธิพัทธ์ สุวรรณการ. (2562). มาตรการความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับการคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สารนิพนธ์นิติศาตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
โอภาส แก้วต่าย. (2552). การจำแนกหมวดหมู่เพลงไทยเดิม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Al-Ali, A. (2020). Digital strategy formulation: An investigation with design sprints and deep learning. Doctoral dissertation. University of Cambridge.
Dean, J., & Pichai, S. (2016, May 18). A personal Google, just for you. Google Blog. Retrieved April 1, 2023, from https://blog.google/products/assistant/personal-google-just-you/
Doulamis, N. et al. (2020). Machine learning for intangible cultural heritage: A review of techniques on dance analysis. In A. A. A. Soares, J. F. C. Mota & J. M. C. Sousa, Eds. Machine Learning for Cultural Heritage (pp. 273-302). Switzerland: Springer, Cham.
Inter-City Motorway Division. (2020). Inter-City motorway division. Retrieved April 1, 2023, from https://mflowthai.com/mflow/aboutus
Manyika, J. (2023). An overview of Bard: an early experiment with generative AI. Retrieved July 6, 2023, from https://ai.google/static/documents/google-about-bard.pdf
McCarthy, J. et al. (1955). A proposal for the dartmouth summer research project on artificial intelligence. AI Magazine, 27 (4), 12-14.
Midjurney Inc, (2022) About mi journey. Retrieved April 1, 2023, from https://www.midjourney.com/
Qiu, Q. (2023). Identifying the role of intangible cultural heritage in distinguishing cities: A social media study of heritage, place, and sense in Guangzhou, China. Journal of Destination Marketing & Management, 27, 1-12.
Rallis, I. et al. (2020). Machine learning for intangible cultural heritage: A review of techniques on dance analysis. In F. Liarokapis, A. Voulodimos, N. Doulamis & A. Doulamis, Eds. Visual Computing for Cultural Heritage (pp. 103-119). Switzerland: Springer, Cham.
Staudacher, N. (2023). What is ChatGPT?. Retrieved July 6 2023, from https://help.openai.com/en/collections/3742473-chatgpt
Yu, T. et al. (2022). Artificial intelligence for dunhuang cultural heritage protection: The project and the dataset. Int J Comput Vis, 130 (13), 2646-2673.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม