แนวทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้, ทักษะผู้เรียน, สมรรถนะผู้สอนบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำมาพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันที ่ต้องการทักษะที่จำเป็นอื่น ๆ นอกเหนือจากสาระวิชาหลัก ผู้สอนมีบทบาทแตกต่างจากการจัดการเรียนรู้แบบเดิม กล่าวคือ ผู้สอนมีหน้าที่ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนใหม่ ๆ โดยแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน การเรียนรู้แบบจริงและการเรียนรู้แบบการสอนให้น้อยเรียนรู้ให้มาก ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนั้นได้เรียนรู้ด้วยตนเองเป็นส่วนมากผู้สอนเป็นเพียงผู้ที่คอยให้ความช่วยเหลือ เพื่อสร้างผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในทักษะด้านต่าง ๆ ในการดำรงชีวิตในสังคมที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและสารสนเทศเช่นปัจจุบันพหุชาติพันธุ์
References
ขวัญชัย ขัวนา และคณะ. (ม.ป.ป.). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อ มีนาคม 10,
, จากhttp://research.msu.ac.th/msu_journal/upload/articles/article2126_41794.pdf.
ฉัตรชัย หวังมีจงมี. (2560, กรกฎาคม-ธันวาคม). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21: ปรับการเรียนเปลี่ยนสมรรถนะ. สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 12 (2), 47. ค้นเมื่อมีนาคม 10, 2564, จากhttp://www.journalhri.com/pdf/1202_03.pdf.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (ม.ป.ป.). รายงานการวิจัยเรื่อง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ค้นเมื่อ มีนาคม 10, 2564,
จาก http://www.pharmacy.cmu.ac.th/unit/unit_files/files_download/2014.
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่21แปลจาก 21st Century Skills: Rethinking How
Students Learn. ค้นเมื่อ มีนาคม 10,2564, จาก http://openworlds.in.th/books/21st-century-skills/.
______. (2556). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลต์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์.
วรางคณา ทองนพคุณ. (2556). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความท้าทายในอนาคต = 21st Century Skills: The Challenges Ahead. ค้นเมื่อ ตุลาคม 28,
, จาก http://www.education.pkur.ac.th
วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
สมเกียรติตั้งกิจวานิชย์และคณะ. (2556). ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างความรับผิดชอบ (accountability). ค้นเมื่อ มีนาคม 10, 2556,
จาก http://tdri.or.th/priorityresearch/educational-reform-accountability
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (ม.ป.ป.). แนวทางในการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.
กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
_______. (2558). แนวทางในการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ.กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (ม.ป.ป.). การกำหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักเลขาธิการครุสภา. (2562). กรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีทีซีเอฟ). กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการครุสภา.
สุไม บิลไบ. (2558). สมรรถนะ ทักษะและบทบาทครูไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
เหงียน ถิทูฮ่า และสิรินาถ จงกลกลาง. (2561). การศึกษาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดกาวบั่ง ประเทศเวียดนาม.
วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2, 14-18.
Block, J. H. (1917). Master learning: Theory and practice. New York: Holt, Rinehart &Winston.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม