การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายในองค์กร (Internal Benchmarking) กับการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียน
คำสำคัญ:
การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายในองค์กร , การพัฒนาสมรรถนะครู , สมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนบทคัดย่อ
การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายในองค์กร (Internal Benchmarking) เป็นกระบวนการเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายในองค์กรโดยค้นหาบุคคลต้นแบบที่มีแนวปฏิบัติที่ดีในองค์กร เปรียบเทียบความแตกต่างของกระบวนการทำงาน จากนั้นนำมาบูรณาการการทำงานของตนเองโดยการกำหนดเป้าหมายการเปลี่ยนแปลง การนำกระบวนการ Internal Benchmarking 6 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผน (Planning) การวิเคราะห์ (Analysis) การบูรณาการ (Integration) การปฏิบัติ (Action)การติดตามและสะท้อนผล (Reflection) และการปรับใช้ในองค์กร (Adaption) มาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ การใช้ทักษะการวิจัย ความสามารถในการเป็นผู้นำและการบริหารจัดการงานวิจัย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ การมีจริยธรรมและการปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อสร้างผลงานออกมาเป็นรูปธรรม เป็นการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในองค์กร และเพิ่มความสามารถในการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนากระบวนการสอนของครู และช่วยให้ครูและนักวิจัยสามารถปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์วิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของตนเองมากยิ่งขึ้น
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567. https://moe360.blog/2023/01/04/policy-and-focus-moe-fiscal-year-2024/
โชติ บดีรัฐ. (2558). เทคนิคการบริหาร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2544). ยอดกลยุทธ์การบริหาสำหรับองค์การยุคใหม่. เอ็ดซเปอร์เน็ท.
นริสรา พึ่งโพธิ์สภ. (2562). คุณลักษณะของความเป็นเลิศและปัจจัยความสำเร็จของการทำงานวิจัยที่เป็นเลิศของนักวิจัยที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปกรณ์ ประจัญบาน. (2560). การพัฒนาองค์ประกอบ ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะจิตวิจัยของนักวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(1); 11-22.
มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2563). การวิจัยในชั้นเรียน. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2560). กรอบแนวคิดสำหรับมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพสาขาวิจัย. https://ssed.nida.ac.th/images/jsd/Y22_1/6_Narisara_Peungposopa.pdf
สมคิด บางโม. (2562). องค์การและการจัดการ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สำนักงาน ก.ค.ศ. (2560). หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ. https://otepc.go.th/images/00_YEAR2561/03_PV1/w21.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.). (2556). จรรยาบรรณนักวิจัย. https://dric.nrct.go.th/Policy/8
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.). (2561). คู่มือสมรรถนะข้าราชการพลเรือนไทย. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2565). การพัฒนางานวิจัยให้มีคุณภาพและใช้ประโยชน์ได้จริง. เอส. บี. เค. การพิมพ์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2566). รายงานแนวทางการส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษาสู่การปฏิบัติ. เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป.
สุวิมล ว่องวานิช. (2557). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 17). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล. (2561). การวิจัยทางการศึกษา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
McClelland, D. C. (1973). Testing for Competence Rather Than Intelligence. American Psychologist. 28(1), 1-4.
Shermon, G. (2004). Competency based HRM: A Strategic resource for competency mapping, assessment and development centre. Tata McGraw-Hill.
Spencer, L. M. & Spencer, S. M. (1993). Competence at work: Models for superior performance. John Wiley & Sons.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารครุศาสตร์ ราชภัฏเชียงใหม่

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสาร TCI อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสําหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต