พฤติกรรมความเชื่อการสวดมนต์ข้ามปีในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • ณัฐธพงษ์ มะลิซ้อน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
  • สมพร เหลาฉลาด คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
  • ขจิตพรรณ อมรปาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
  • สว่างบุญ วงก์ฟ้าเลื่อน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร

คำสำคัญ:

พฤติกรรม, ความเชื่อ, การสวดมนต์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมความเชื่อการสวดมนต์ข้ามปีในสังคมไทย ในการศึกษาครั้งนี้ได้จากการวิเคราะห์และทบทวนวรรณกรรมสามารถนำเสนอแนวทางให้เกิดแนวทางประยุกต์สวดมนต์นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต พฤติกรรมความเชื่อการสวดมนต์ข้ามปีในสังคมไทยเชื่อว่าการสวดมนต์เป็นสิ่งที่ดีต้องสวดด้วยความศรัทธา และเชื่อว่ามีคุณค่าทางด้านจิตใจที่จะเกิดผลดีต่อตนเอง พฤติกรรมความเชื่อการสวดมนต์ข้ามปีในสังคมไทยส่วนใหญ่ขอพรให้ครอบครัวเป็นลำดับแรก การสวดมนต์ทำให้เกิดความสุข ความสบายใจ และมีสุขภาพจิตที่ดีได้มากกว่าผู้ที่ไม่ได้สวดมนต์ ยิ่งสวดมนต์บ่อยครั้ง ยิ่งทำให้มีโอกาสที่จะเกิดความสุข ความสบายใจ และมีสุขภาพจิตที่ดีมากยิ่งขึ้น กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีเป็นกิจกรรมทางเลือก เพื่อให้ประชาชนหันมาสวดมนต์ข้ามปีเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต แทนการไปสังสรรค์ซึ่งมักจะมีการดื่มสุราและของมึนเมาในช่วงเทศกาลปีใหม่  

References

กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, อำนาจ บัวศิริ, อัครนันท์ อริยศรีพงษ์, อมลณัฐ กันทะสัก และมนัสนันท์ ประภัสสรพิทยา. (2561). โครงการสุขชีวีวิถีพุทธในชุมชนเมือง ยุค 4.0: กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน. ทุนวิจัยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรมวิชาการ. (2511). สํสกฤต-ไทย-อังกฤษ อภิธาน. พระนคร: คุรุสภา.

จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี. (2552). ตำนานบทสวดมนต์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสาร.

ฐิติยา เนตรวงษ์, และรัชฎาพร ธิราวรรณ. (2562). การใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักวิถีพุทธ ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 15(1), 50-62.

ทัศนา จิรสิริธรรม. (2552). ศึกษาการสวดมนต์แปลเพื่อการบรรเทาทุกข์ทางใจ: กรณีศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการอยู่เย็นเป็นสุขพ้นทุกข์ร่วมกัน ณ เสถียรธรรมสถาน. ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ประเสริฐ บุญตา. (2547). พาหุงฯการเผชิญภัยของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรุงเทพ ฯ.

พระครูศิริโสธรคณารักษ์. (2562). แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามโครงการสวดมนต์ข้ามปีของประชาชนในจังหวัดยโสธร. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(2), 466-481.

พระครูสุตธรรมาภรณ์ ดร., พระมหาพวน ขนฺติธโร (ลีดี). (2560). การวิเคราะห์อิทธิพลของพระพุทธรูปสำคัญกับการพัฒนาจิตใจและปัญญาในสังคมไทย. ทุนวิจัย มหาวิทยาลัย-มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พุทธโสธร.

พระเทพเทวี (ประยุตธ์ ปยุตฺโต). (2535). พระพุทธศาสนาในฐานะรากฐานของวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2548). เรื่องเหนือสามัญวิสัยอิทธิปาฏิหาริย์เทวดา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมดา.

พระราชเวที (สมพงษ์ พฺรหฺมวํโส). (2536). บรรณานุกรม สัททาวิเสสวิคคหะ. กรุงเทพมหานคร : ประดิพัทธ์.

พระสมุห์สุรพงษ์ ปญฺาพโล (สืบนุช). (2560). ศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาของร่างทรง กรณีศึกษา: อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ. พุทธศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระอัคควังสเถระ. (2545) สัททนีติธาตุมาลา คัมภีร์หลักบาลีไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ไทยรายวันการพิมพ์.

พินิจ รัตนกุล. (2548). สวดมนต์ สมาธิ วิปัสสนา รักษาโรคได้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

พุทธทาสภิกขุ. (2538). ชุมนุมข้อคิดอิสระ พุทธทาสภิกขุ, พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

ภาณี วงษ์เอก. (2558). ประชากรสามกลุ่มวัยได้อะไรจากการสวดมนต์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โรงพิมพ์เดือนตุลาคม จำกัด.

เมตตานันโทภิกขุ. (2548). ธรรมะในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ที.เอ็น. พี. พริ้นติ้ง จำกัด.

แม่ชีกนกวรรณ ปรีดิ์เปรม. (2562). ผลของการสวดมนต์และการฟังบทสวดมนต์ที่มีต่อความวิตกกังวลในการสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีความศรัทธาในพุทธศาสนาต่างกัน. พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย-มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เยาวรัตน์ มัชฌิม, วราภรณ์ คงสุวรรณ, และตติกร นิลมานัต. (2562). ประสบการณ์การสวดมนต์ของผู้ป่วยมะเร็ง: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 36(3), 23-35.

รศรินทร์ เกรย์, ภาณี วงษ์เอก, เจตพล แสงกล้า และณัฐจีรา ทองเจริญชูพงศ์. (2558). การสวดมนต์ การสวดมนต์ข้ามปี และความสุขของพุทธศาสนิกชนไทย. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. (2527). คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค. กรุงเทพมหานคร: ธเนศวรการพิมพ์.

สมเด็จพระพุฒาจารย์ พรหมรังสี. (ม.ป.ป.). อมตะธรรม: ประวัติการสวดมนต์. สืบค้น 20 ธันวาคม2565, จาก www.kanlayantam.com/sara/sara/64.html.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยฺตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ 31. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี. (2552). กลไกของการปฏิบัติสมาธิ. สืบค้น 20 ธันวาคม 2565, จาก http://thaicamdb.info/article_doc.php?article=41

สำนักพิมพ์เลี่ยงเซียง. (2551). สวดมนต์ทำวัตรแปล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เลี่ยงเซียง เพียรเพื่อพระพุทธศาสน์.

สุภาพ หอมจิตร (2554). สวดมนต์อานิสงส์ครอบจักรวาล. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเซียง.

หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์. (2518). ธาตุปฺปทีปิถา. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

Andersson, G. (2008). Chronic pain and praying to a higher power: useful or useless?. Journal of religion and health, 47(2), 176-187.

Apte, Vaman Shivram. (1995). The Practical Sanskrit- English Dictionary, (New Delhi: Motilal Babarsidass.

Coleman, James C, and Hammen. (1981). Abnormal Psychology and Modern Life. New York: Bombay, 1981.

Maltby, J., Lewis, C. A., & Day, L. (2008). Prayer and subjective well-being: The application of a cognitive-behavioural framework. Mental Health, Religion and Culture, 11(1), 119-129.

Robbins, M., Francis, L. J., & Edwards, B. (2008). Prayer, personality and happiness: A study among undergraduate students in Wales. Mental Health, Religion and Culture, 11(1), 93-99.

Seligman, M.E.P.; Walker, E.F.; Rosenhan, D.L., (2001). Abnormal psychology (4th ed.). New York: W.W. Norton & Company.

Spielberger, C.D., (1966). Theory and Research on Anxiety, in Anxiety and Behavior, New York: Academic Press.

Thomas, S., & Rao, S. L. (2016). “Effect of Gayatri mantra meditation on meditation naïve subjects: an eeg and fMri study”. The international journal of indian psychology, 3(2) (2016): 14 – 18.

William, M monier. (1995). A Dictionary English and Sanakit, New Delhi: Motital Banarsidass.

เผยแพร่แล้ว

12/31/2023