การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการเรียนการสอน

ผู้แต่ง

  • พิมพ์ปวีณ์ นิธิจิรชาติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • พระมหาอุดร อุตตโร (มากดี) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • ปฏิธรรม สำเนียง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์

คำสำคัญ:

การบูรณาการ, นวัตกรรม, เทคโนโลยี

บทคัดย่อ

บูรณาการ คือ การเชื่อมโยงองค์ความรู้ ตั้งแต่ 2 เรื่องขึ้นไปมาจัดกระทำให้เป็นเนื้อเรื่องเดียวกันจนเกิดการเรียนรู้ที่กว้างขวางและครอบคลุมความรู้ทั้งสามด้าน คือ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย โดยการนำนวัตกรรม ใหม่ ๆ หรือปรับปรุงจากสิ่งดั้งเดิมทำให้ดีขึ้นเหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อนำมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติทางการศึกษา การใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนที่เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว มาปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันกับยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนไป เพื่อจะได้สร้างผู้เรียนให้มีทักษะต่าง ๆ ที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ นำองค์ความรู้ไปสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นและสามารถดำรงอยู่ในยุคดิจิทัลได้ สอนให้มีทักษะชีวิตที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตเอาตัวรอดอยู่ในยุคนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลนั่นเอง

References

ก่อ สวัสดิพาณิชย์. (2517). เทคโนโลยีทางการศึกษา, แนวการออกแบบพัฒนากราฟิก ประมวลบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

จรญู วงศ์สายัณห์. (2515). เทคโนโลยีทางการศึกษาประมวลบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

ชวนีย์ พงศาพิชณ์, นพคุณ สุขสถาน, วิมล เหมือนคิด, และสุนทรี ศักดิ์ศรี. (2551). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนแบบบูรณาการ : กรณีศึกษาวิชามนุษยสัมพันธ์. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 18(2), 65.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการสอน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2523). เทคโนโลยีการสอน การออกแบบและการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:

ไอเดียนสโตร์

บรรณปัญญา (ม.ป.ป.). นวัตกรรมทางการศึกษา. สืบค้น 22 กันยายน 2565 , จาก http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic

เบญจมาศ อยู่เป็นแก้ว. (2548). การสอนแบบบูรณาการ Integrated Instruction (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

พาณี เรืองวิลัย. (2549). ผลการสอนแบบบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การดํารงชีวิตของพืชของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย).

พิมพันธ์ เดชะคุปต์, และเยาว์ ยินสุขดี. (2548). ทักษะ 5C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, และอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตรวรรษที่ 21.

กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส.

วาสนา ชาวหา. (2522). เทคโนโลยีทางการศึกษา Educational Technology. กรุงเทพฯ: อักษรสยาม

การพิมพ์.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี – สฤษดิวิงศ์.

วิจิตร ศรีสะอ้าน. (2541). เทคนิควิทยาทางการศึกษา นวกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:

ครุสภาลาดพร้าว.

วิเศษ ชิณวงศ์. (2544). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ. (วารสารวิชาการ, 4 : 28, 2544).

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์, อัจฉรา จันทร์ฉาย, และประกอบ คุปรัตน์. (2553). นวัตกรรม: ความหมาย ประเภท ความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 33, (128), 49-65.

สมาน ลอยฟ้า. (2554). ผู้สูงอายุกับเทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29(2), 57-58.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2548). สุดยอดนวัตกรรมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2548). วิวัฒนาการระบบนวัตกรรมแห่งชาติของประเทศไทย:อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ: งานนิเทศสัมพันธ์สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สิริพัชรี เจษฎาวิโรจน์. (2546). การบูรณาการการเรียนการสอนภาษาไทย: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

อรัญญา สุธาสิโนบล. (2545). การสอนแบบบูรณาการ. วารสารวิชาการ, 5(12), 20-26.

เอกราช ดีเลิศ. (2552). ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โภชนาการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

Dale, E. (1969). Audio-Visual Methods in Teaching (3rd ed.). New York: Holt, Rinehart & Winston.

Good, C. V. (1973). Dictionary of education. New York: McGraw-Hill.

Good, I. J. (1963). Maximum entropy for hypothesis formulation, especially for multidimensional contingency tables. The Annals of Mathematical Statistics, 34(3), 911-934.

Halsey, Y. D., & Parson, W. W. (1974). Identification of ubiquinone as the secondary electron acceptor in the photosynthetic apparatus of Chromatium vinosum. Biochimica et Biophysica Acta (BBA)-Bioenergetics, 347(3), 404-416.

Knecht, W. S., Kuhlman, C. W., & Piper, R. D. (1955). Production of Ionium from a Pitchblende Residue (No. MCW-1379). St. Louis: Mallinckrodt Chemical Works.

Yates, J. (2006). The Social Construction of Technological Systems: New Directions in the Sociology and History of Technology. Business History Review, 80(1), 144-147.

เผยแพร่แล้ว

12/31/2023