ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารธุรกิจการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ประสิทธิผล, การบริหารธุรกิจ, ธุรกิจการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนบทคัดย่อ
ในปัจจุบันการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนมีบทบาทสำคัญในการพัฒนากำลังคนที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศไทย ความสามารถในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างความสำเร็จของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารธุรกิจการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนในประเทศไทย ซึ่งพบว่า ปัจจัยด้านการบริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย ปัจจัยด้านองค์การ สภาพแวดล้อม และนโยบายบริหารและการปฏิบัติ ปัจจัยสมรรถนะของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการมีคุณธรรมจริยธรรม และปัจจัยการสร้างแบรนด์ ประกอบด้วย ตำแหน่งของแบรนด์ บุคลิกภาพของแบรนด์ เอกลักษณ์ของแบรนด์ และการสื่อสารของแบรนด์ ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารธุรกิจการศึกษาเอกชนในประเทศไทย ประกอบด้วย ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานวิชาการ และการบริหารทั่วไป สารสนเทศที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ จะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน และนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและความคาดหวังของผู้เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน
References
กระทรวงการต่างประเทศ. (2565). กระทรวงการต่างประเทศหารือความคืบหน้าและแนวทางส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ในการประชุมหารือทางไกลกับสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2567 จาก https://www.mfa.go.th/th/content/eecconsultative/
meeting010264.
ดวงใจ แก้วประเสริฐ. (2565). ประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาในยุคการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา. วารสารบริหารการศึกษา, 12(2): 45 - 58.
นวรัตน์ รามสูต. (2567). ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีด้านการศึกษาของอาเซียน ครั้งที่ 13. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2567 จาก https://shorturl.asia/vXYUS.
พรรณิภา งามเลิศ, ประกฤติ พูลพัฒน์, และรุ่งนภา ตั้งจิตเจริญกุล. (2564). การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(2): 543 – 558.
โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC.). (2563). ประมาณการความต้องการบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกปี 2562 – 2566. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2568 จาก https://www.eeco.or.th/th/eec-model.
ศิริวัฒน์ มหากิจไพบูลย์. (2564). การพัฒนาระบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อความยั่งยืน. วารสารการบริหารการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา, 10(3): 72 - 89.
ศศิธร วัฒนกิจ. (2565). การบริหารธุรกิจการศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ภัทรกุลวณิชย์. (2564). การบริหารการศึกษายุคใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม. (2567). กลยุทธ์การสร้างแบรนด์: สรรค์สร้าง สื่อสาร ส่งเสริมแบรนด์ให้เติบโต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา. (2565). สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะของสถานศึกษาในการขับเคลื่อนการจัดการอาชีวศึกษาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2567 จาก https://bme.vec.go.th/Portals/30/PDF%20Documents/
policy%20report%202565.pdf.
อมิตรา อุดม, วาโร เพ็งสวัสดิ์ และทรัพย์หิรัญ จันทรักษ์. (2567). การวิเคราะห์องค์ประกอบ สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์, 8(3): 131 - 143.
Aaker, D. A. (2010). Brand relevance: Making competitors irrelevant. San Francisco: John Wiley & Sons Inc.
Anderson, J., Rourke, L., Garrison, D. R., & Archer, W. (2022). The impact of digital technologies on educational management: A case study of digital transformation in schools. Educational Administration Quarterly, 58(2): 123-145.
Anderson, L. W., Krathwohl, D. R., & Airasian, P. W. (2022). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom's taxonomy of educational objectives. Longman.
Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership (2nd ed.). New York: Psychology Press.
Bronfenbrenner, U. (1979). The Ecology of Human Development: Experiments by Nature and Design. Massachusetts: Harvard University Press.
Brown, M. E., & Treviño, L. K. (2006). Ethical leadership: A review and future directions. The Leadership Quarterly, 17(6): 595 - 616.
Caldwell, B. J., & Spinks, J. M. (2013). The self-managing school. Oxfordshire : Routledge.
Drucker, P. F. (1993). Management: Tasks, Responsibilities, Practices. New York: Harper Business.
Fullan, M. (2021). The new meaning of educational change (5th ed.). New York: Teachers College Press.
Garavan, T. N., Carbery, R., & Rock, A. (2021). Strategic human resource development: A journey in progress. Oxfordshire: Routledge.
Heuer, R. J. (1999). Psychology of intelligence analysis. Center for the Study of Intelligence.
Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2013). Educational administration: Theory, research, and practice (9th ed.). New York: McGraw-Hill Education.
Robbins, S. P., & Judge, T. A. (2022). Organizational behavior (19th ed.). London: Pearson.
Robbins, S. P., & Coulter, M. (2020). Management (15th ed.). London: Pearson.
Robinson, V. (2009). The impact of leadership on student outcomes: Making sense of the evidence. Australian Council for Educational Research.
Kapferer, J. N. (2012). The new strategic brand management: Advanced insights and strategic thinking (5th ed.). London: Kogan Page.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Massachusetts: Harvard Business Review Press.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (2004). Strategy maps: Converting intangible assets into tangible outcomes. Massachusetts: Harvard Business School Press.
Keller, K. L. (2013). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brand Equity (4th ed.). London: Pearson.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2016). Marketing management (15th ed.). London: Pearson
Lawrence, P. R., & Lorsch, J. W. (1967). Organization and Environment: Managing Differentiation and Integration. Massachusetts: Harvard University Press.
Lencioni, P. (2016). The ideal team player: How to recognize and cultivate the three essential virtues. San Francisco: Jossey-Bass.
Mintzberg, H. (1979). The Structuring of Organizations. New Jersey: Prentice Hall.
Schultz, D. E., Patti, C. H., & Kitchen, P. J. (2020). The evolution of integrated marketing communications: The customer-driven marketplace. Oxfordshire: Routledge.
Spector, P. E. (1997). Job satisfaction: Application, assessment, cause, and consequences. California: Sage.
Stein, M. K., & Kim, G. (2009). Leadership content knowledge. Educational Administration Quarterly, Year 45 No.2. April - June 2009 : 219 - 258.
Sriputta, P., Agsonsua, P., & Sirisuthi, C. (2023). The development of an effective private school management model in the northeastern region of Thailand. International Journal of Higher Education, 12(5): 13 - 20.
Yang, C., and Sigdel, B. (2023). The impact of higher education service on institutional brand in Thailand: The mediating role of Chinese students’ satisfaction. The EUrASEANs: Journal on Global Socio-economic Dynamics, 6(43): 417 - 429.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2025 วารสารวิจัยธรรมศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.