Book Review Norberto Bobbio's "Liberalism and Democracy"
"Liberalism and Democracy" from the perspective of a lawyer and reflection through Norberto Bobbio's work
Abstract
The relationship between “liberalism” and “democracy” engenders the conception of the "Liberal Democratic State." Over time, the evolution of these ideas involves both conflict and common ground, ultimately culminating in their amalgamation. Hence, the genesis of this notion is characterized by complexity and historical depth. However, within academic discourse in jurisprudence, particularly in the domains of public law and administrative law in Thailand, which have been influenced by education from liberal democratic states in Europe, this issue is not addressed directly or comprehensively. A study of Norberto Bobbio's work as a philosopher of public law can consequently assist Thai lawyers in achieving a more comprehensive understanding of such issues. This work entails an examination of documents, commencing with an exploration of academic literature on Thai public law elucidating the concept of liberal democracy. Subsequently, it provides a synthesized explanation of Norberto Bobbio's book, 'Liberalism and Democracy,' presented in the format of a semi-book review. Finally, it concludes with an analysis and elucidation of the limitations inherent in Bobbio's work. The nature of this work appears abstract, designed to possess a universal and broadly applicable character typical of political theory literature. However, shortcomings arise in its capacity to explicate the political-economic regime in accordance with real-world conditions.
References
ไพโรจน์ ชัยนาม, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง, 2482), 54-55.
เดือน บุนนาค และไพโรจน์ ชัยนาม, คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญ (รวมทั้งกฎหมายเลือกตั้งด้วย) ภาค 1 หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติสาส์น, 2477), 33-34.
ไพโรจน์ ชัยนาม, คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ เล่ม 1, (กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2495), 70.
นอกจากนี้คำว่า “เศรษฐกิจประชาธิปไตย” ยังปรากฏในคำให้สัมภาษณ์ BBC ภาคภาษาไทย ของท่านปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี พ.ศ. 2525 ในโอกาสครบรอบ 50 ปี การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยท่านได้อธิบายถึง “ความผิดพลาดและความขัดแย้งในหมู่ผู้นำของคณะราษฎร และ แนวทางพัฒนาประเทศไทย โดยสองในนั้นคือ หนึ่ง การพัฒนาเศรษฐกิจซึ่งเป็นรากฐานของมนุษยสังคมให้เป็น “เศรษฐกิจประชาธิปไตย” โดยเศรษฐกิจซึ่งเป็นรากฐานของมนุษยสังคมที่มิใช่เศรษฐกิจประชาธิปไตยนั้น ย่อมเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ อันทำให้ประชาชนอัตขัตขัดสน ซึ่งเป็นการทำให้รากฐานของสังคมระส่ำระส่าย ฉะนั้น มนุษย์ในสังคมต้องพัฒนาเศรษฐกิจให้เป็นเศรษฐกิจประชาธิปไตยได้มากเพียงไร เศรษฐกิจที่เป็นรากฐานก็มั่นคงสมบูรณ์มากขึ้นเพียงนั้น และ สอง พัฒนาการเมืองใน “การเมืองประชาธิปไตย” สมานกับรากฐาน “เศรษฐกิจประชาธิปไตย” โดยการเมืองที่ตั้งอยู่บนความนึกคิดที่เลื่อนลอย ย่อมมีผลสะท้อนกลับไปสู่รากฐานของสังคม ทำให้รากฐานนั้นระส่ำระส่ายและเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ฉะนั้น มนุษย์ในสังคมต้องพัฒนาการเมืองให้ตั้งอยู่บนรากฐานเศรษฐกิจประชาธิปไตยได้มากเพียงไร ก็จะเป็นการเมืองประชาธิปไตยมากขึ้นเพียงนั้น และจะมีผลสะท้อนกลับไปสู่รากฐานเศรษฐกิจของสังคมให้มีความมั่นคงสมบูรณ์มากขึ้นเพียงนั้น” จากคำอธิบายดังกล่าว คำว่า “ประชาธิปไตยทางการเมือง” ของท่านอาจารย์หยุด แสงอุทัย น่าจะมีความหมายเดียวกับคำว่า “การเมืองประชาธิปไตย” ของท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ขณะเดียวกัน คำว่า “ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ” และคำว่า “เศรษฐกิจประชาธิปไตย” ของท่านอาจารย์ทั้งคู่ น่าจะมีความหมายไม่แตกต่างกันเช่นกัน
หยุด แสงอุทัย, คำบรรยายกฎหมายรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2511), 34-45.
สมพงศ์ พลอยสังวาลย์, “การปกครองระบอบเสรีประชาธิปไตย”, รัฐสภาสาร ปีที่ 2 ฉบับที่ 23 (21 พ.ค.2497), 29-34.
หลวงสุนาวินวิวัฒ, “รัฐสภาในระบอบเสรีประชาธิปไตย”, รัฐสภาสาร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (ฉบับพิเศษ 10 ธ.ค.2497), 18-19.
เดช เดชประดิยุทธ, “สถาบันสำคัญในระบอบเสรีประชาธิปไตย”, ใน เพิ่งอ้าง, 20-21.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร, การใช้กฎหมายป้องกันคอมมิวนิสต์, (กรุงเทพ: ศูนย์รักษาความปลอดภัย กระทรวงกลาโหม, 2517).
โปรดดู บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพ: วิญญูชน, 2547), 19. และ วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, ข้อความคิดและหลักการพื้นฐานในกฎหมายมหาชน, (กรุงเทพ: นิติธรรม, 2540) 1. และ สุรพล นิติไกรพจน์ และคณะ, ศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิบัติพันธกิจตามรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพ: วิญญูชน, 2546).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน, (กรุงเทพ: อ่านกฎหมาย, 2564), 30-35.
นอร์แบร์โต บ๊อบบิโอ, เสรีนิยมกับประชาธิปไตย, แปลโดย เกษีตร เตชะพีระ, (กรุงเทพ: สำนักพิมพ์คบไฟ,2558), 1.
เพิ่งอ้าง, 44.
เพิ่งอ้าง, 47-48.
เพิ่งอ้าง, 45.
เพิ่งอ้าง, 51.
เพิ่งอ้าง, 80.
เพิ่งอ้าง, 113.
Clifford Greertz, “The world in Pieces: Culture and Politics at the End of the Century,” in Available light, Anthropological Reflections on Philosophical Topics (Princeton: Princeton University Press, 2000), p. 218. อ้างใน ไชยยันต์ ไชยพร, ข้อวิพากษ์ทฤษฎีการเมืองกระแสหลักของ คลิฟฟอร์ด เกียทซ์, (กรุงเทพ: openbooks, 2551), 49.
มีข้อพิจารณาว่า ขณะที่ประเทศอื่นมองว่าลาวเป็นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ แต่ทางการลาวใช้คำว่า ทางการลาวใช้คำว่า ระบอบประชาธิปไตยประชาชน และมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” การช่วงชิงความหมายของประชาธิปไตยนี้ จึงยังมีข้อพิารณาจนถึงปัจจุบัน
ข้อมูลจนถึงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2020 สหราชอาณาจักรมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 55 คน จบจากออกซ์ฟอร์ด 28 คน จบจากเคมบริดจ์ 14 คน
นอร์แบร์โต บ๊อบบิโอ, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 12, 131-132.