วิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ล

ผู้แต่ง

  • พระจาตุรงค์ ชูศรี วัดวิเศษการ กรุงเทพมหานคร

คำสำคัญ:

ปรากฏการณ์วิทยา, การใส่วงเล็บของอคติ, การสำนึกรู้

บทคัดย่อ

เอดมุนด์ ฮุสเซิร์ล [Edmund  Husserl] เป็นนักปรัชญาทางด้านปรากฏการณ์วิทยา โดยเสนอวิธีการหาความรู้แบบปรากฏการณ์วิทยา อยู่ที่การตั้งคำถามหรือชวนสงสัยกับสิ่งที่เราคุ้นเคย เคยชิน หรือยอมรับ ด้วยวิธีการใส่วงเล็บของอคติ [Bracketing] ต่อโลก ปรัชญาปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ลยังมุ่งการอธิบายเรื่องสำนึกว่าการสำนึกนั้นต้องสำนึกถึงอะไรบางอย่าง

อย่างไรก็ตาม การสำนึกรู้นั้นทำให้แนวคิดของฮุสเซิร์ลมีท่าทีทำให้เกิดการปิดตัวเองอยู่ในโลกของมโนคติมาก  จนอาจปฏิเสธถึงความมีอยู่ของสิ่งภายนอกตัวของบุคคล เพราะสิ่งต่างๆ เป็นสิ่งที่มีอยู่ได้นั้นก็ล้วนต้องอิงอาศัยกันและกันตามเงื่อนไขของเวลาและสถานที่รวมทั้งบริบท (Context)

References

กีรติ บุญเจือ. (2546). ปรัชญาอรรถปริวรรตของมนุษยชาติ เล่มหก (ช่วงพหุนิยม). กรุงเทพมหานคร: ฐานบัณฑิต จำกัด.

กีรติ บุญเจือ. (2520). แก่นปรัชญากรีก. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2551). รัฐศาสตร์แนววิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2549). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญมี แท่นแก้ว. (2548). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

บุญมี แท่นแก้ว. (2544). ญาณวิทยา (ทฤษฎีความรู้). กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

พระจาตุรงค์ อาจารสุโภ (ชูศรี). (2554). การศึกษาวิพากษ์สาระในปรากฏการณ์วิทยาของเอดมุนด์ ฮุสเซิร์ล. สารนิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2547). ขอบฟ้าแห่งความรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2543). โลกทัศน์ของชาวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมภาร พรมทา. (2551). คิดอย่างไรให้มีเหตุผล. กรุงเทพมหานคร: ศยาม.

Encyclopedia of Religion. Volume 6, second edition, Lind jones, editor in chief. Thomson gale: U.S.A.

The new Encyclopedia Britannica. Macropaedia Volume 9. Encyclopedia Britannica,Inc. : U.S.A.

Thevenaz, Pierre. (1962). What is Phenomenology. Chicago: USA.

http://61.47.2.69/~midnight/midnight2544/0009999449.html

http://www.tameri.com/csw/exist/husserl.shtml

http://content.tarad.com/?p=671

http://sharp.bu.edu/~slehar/quotes/kant.html, p. 69 [A50/B74]

วารสารวิจัยธรรมศึกษา

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06/06/2020

How to Cite

ชูศรี พ. (2020). วิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ล. วารสารวิจัยธรรมศึกษา, 3(1), 1–9. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/439