การปรับตัวของธุรกิจร้านอาหารเพื่อการดํารงอยู่ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
คำสำคัญ:
1. การปรับตัว 2. การดำรงอยู่ 3. ธุรกิจร้านอาหาร 4. ร้านอาหาร 5. โควิด-19บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวและแนวทางการจัดการของธุรกิจร้านอาหารเพื่อการดำรงอยู่และโอกาสทางธุรกิจในสถานการณ์โควิด-19 เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการจัดกลุ่มสนทนาเชิงลึกกับผู้ประกอบการและผู้บริหารธุรกิจร้านอาหารด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบว่า ธุรกิจร้านอาหารมีการปรับตัวด้านการสร้างรายได้และควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่าย โดยได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และสังคม และแนวทางการจัดการสำหรับผู้ประกอบการในการปรับตัวเพื่อการดำรงอยู่และโอกาสทางธุรกิจในสถานการณ์โควิด-19 ได้ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การจัดการโครงสร้างธุรกิจ 2) การจัดการการขายและการตลาด 3) การจัดการการบริการ และ 4) การจัดการนวัตกรรม โดยผลการวิจัยสามารถเป็นข้อมูลสำหรับธุรกิจร้านอาหารที่กำลังประสบปัญหา รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้กับธุรกิจบริการอื่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางการสร้างสรรค์ ปรับความคิดและเปลี่ยนความรู้ เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดได้ในสถานการณ์โควิด-19 จนกว่าสถานการณ์นี้จะคลี่คลาย
References
แบรนด์อินไซด์. (2564). Cloud Kitchen คำตอบสุดท้ายหรือแค่กระแส? สืบค้นเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2564, จาก https://brandinside.asia/cloud-kitchen-2021/
ประชาชาติ. (2559). เศรษฐกิจในประเทศ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2564, จาก https://www.prachachat.net/economy/news-62014.
ศูนย์วิจัยกสิกร. (2561). ธุรกิจร้านกาแฟ บริหารอย่างไรให้รุ่ง. สืบค้นเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2564, จาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Coffee-Shop-Management.pdf.
เดอะสแตนดาร์ด. (2564). เกมนี้เพื่อความอยู่รอด! Iberry Group ส่ง 3 เมนูเนื้อแบรนด์ ‘รสนิยม’ เข้าขายใน 7-Eleven 5,000 สาขา วางราคา 69 บาทสืบค้นเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2564, จาก https://thestandard.co/iberry-group-rosniyom-menu-at-7-eleven/
วงใน. (2562). ส่องสถิติร้านอาหารปี 2019. สืบค้นเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2564, จาก https://www.brandage.com/article/16993/Food-2019.
Brizek, M.G., Frash, R.E., McLeod, B.M. and Patience, M.Q. (2021). Independent restaurant operator perspectives in the wake of the COVID-19 pandemic. International Journal Hospitality Management., 93: 102766.
Casadesus-Masanell, R.m & Zhu, F. (2013). Business model innovation and competitive imitation: the case of sponsor-based business models. Strategic Management Journal, 34(4): 464-482.
Creswell, J. W. (2003). Research design: Qualitative, quantitative, and mixed methods approaches (2nd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.
Glaser, B., & Strauss, A. (1967). The Discovery of Grounded Theory: Strategies for Qualitative Research. Mill Valley, CA: Sociology Press.
Gossling, S., Scott, D. and Hall, C.M. (2021). Pandemics, tourism and global change: a rapid assessment of COVID-19. Journal Sustainable Tour, 29(1): 1-20.
Kajonsak Buaraphan. (2011). Qualitative Research isn’t difficult as been thought. วิจัยเชิงคุณภาพไม่ยากอย่างที่คิด. Nakornpathom: Institute of Innovative Learning, Mahidol University.
Karim, W., Haque, A., Anis, Z. and Ulfy, M.A. (2020). The movement control order (mco) for COVID-19 crisis and its impact on tourism and hospitality sector in Malaysia. International Tour Hospitality Journal, 3(2): 1-7.
Linnenluecke, M. K., Griffiths, A., & Winn, M. I. (2013). Firm and industry adaptation to climate change: a review of climate adaptation studies in the business and management field. Wiley Interdisciplinary Reviews: Climate Change, 4(5): 397-416.
Lengnick-Hall, C.A., Beck, T.E. and Lengnick-Hall, M.L. (2011). Developing a capacity for organizational resilience through strategic human resource management. Human Resources Management Review, 21(3): 243-255.
Markides, C. (2006). Disruptive innovation: In need of better theory. Journal of product innovation management, 23(1): 19-25.
Martin, R.L. (2018). Shocking Aspects of Regional Development: Towards an Economic Geography of Resilience. United Kingdom: Oxford University Press.
Martin, P. (2019). The rules of security: Staying safe in a risky world. United Kingdom: Oxford University Press.
National Academy of Sciences. (2012). Disaster resilience: A national imperative. Washington: The National Academies Press.
Nicola, M., Alsafi, Z., Sohrabi, C., Kerwan, A., Al-Jabir, A., Losifidis, C., Agha, M. & Agha, R. (2020). The Socio-economic implications of the coronavirus and COVID-19 pandemic: A review. Internatioanl Journal Surgery, 78, 185-193.
Neise, T., Verfürth, P., & Franz, M. (2021). Rapid responding to the COVID-19 crisis: Assessing the resilience in the German restaurant and bar industry. International Journal of Hospitality Management, 96(1).
Prasetyo, Y. T., Tanto, H., Mariyanto, M., Hanjaya, C., Young, M. N., Persada, S. F., Miraja, B.A. & Redi, A. A. N. P. (2021). Factors affecting customer satisfaction and loyalty in online food delivery service during the covid-19 pandemic: Its relation with open innovation. Journal of Open Innovation: Technology, Market, and Complexity, 7(1), 76.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2): 49–60.
Sacks, G., & Looi, E.S.Y. (2020). The Advertising Policies of Major Social Media Platforms Overlook the Imperative to Restrict the Exposure of Children and Adolescents to the Promotion of Unhealthy Foods and Beverages. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(11).
Shosha, A. (2012). Employment of Colaizzi’s Strategy in Descriptive Phenomenology: A reflection of a researcher. European Scientific Journal, 8(27): 31-43.
Tushman, M.L. & Romanelli, E. (1985). Organizational evolution: a metamorphosis model of convergence and reorientation. Research in organizational behavior, 7: 171–222.
Yeo, V. C. S., Goh, S. K., & Rezaei, S. (2017). Consumer experiences, attitude and behavioral intention toward online food delivery (OFD) services. Journal of Retailing and Consumer services, 35:150-162.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยสยาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน