คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณค่าและการตัดสินใจท่องเที่ยว: นักท่องเที่ยวเจนซีสายมูเตลู
คำสำคัญ:
คุณภาพการบริการ, การรับรู้คุณค่า, การตัดสินใจ, วัดสายมูเตลู, นักท่องเที่ยวเจนซีบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณค่าและการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเจนซีสายมูเตลู ทำการเก็บข้อมูลจากคนเจนเนอเรซั่นซีที่มีความชอบในการเดินทางไปวัดสายมูเตลูในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 400 คน ทำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและแบบตามความสะดวก ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการเชิงโครงสร้าง ซึ่งผลการศึกษาพบว่า มิติคุณภาพการบริการของวัดสายมูเตลู ประกอบไปด้วย 6 มิติ ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ การให้ความเชื่อมั่น สิ่งที่จับต้องได้ การเห็นอกเห็นใจ การตอบสนอง และความสามัคคีส่งผลทางตรงและทางอ้อมต่อการรับรู้คุณค่าและการตัดสินใจเดินทางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.001 โดยผลการศึกษาในครั้งนี้เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงวิชาการและปฏิบัติการส่งผลให้ชุมชนและสังคมรอบข้างมีงานและมีอาชีพ นอกจากนี้ ผลการวิจัยนี้ยังสามารถนำไปใช้เป็นกุศโลบายในการเชิญชนในคนรุ่นใหม่เข้าวัดและสอดแทรกธรรมมะที่เกี่ยวข้องต่อไป
References
กร์ณนัฏฐ์ สิทธิไกร, จินต์ วิภาตะกลัศ และกฤษณะ ดาราเรือง. (2562). คุณภาพการบริการและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโฮมสเตย์ในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 24(3), 149-166.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2020). ททท. ชวนเปิดประสบการณ์ท่องเที่ยวชุมชนสุดชิลล์ใจกลางเมือง ในงาน Village Tourism Festival 2022. เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เดือนกรกฏาคม 2565 จาก https://thai.tourismthailand.org/Articles/village-tourism-festival
ธันยา พรหมบุรมย์ และ นฤมล กิมภากรณ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศ วัฒนธรรม และสุขภาพในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ของประเทศไทย : เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง แม่ฮ่องสอน. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 10(1), 71-87.
มารินทร์ เลิศสหพันธ์ และ พระครูปริยัติธรรมวงศ์. (2564). การพัฒนาคนรุ่นใหม่เพื่อขับเคลื่อนสังคมชาวพุทธ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8(1), 10-23.
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล, นรินทร์ สังข์รักษา และสมชาย ลักขณานุรักษ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของจังหวัดราชบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), 2392-1409.
อธิป จันทร์สุริย์. (2564). HOTEL + HOSPITAL = HOSPITEL: กลยุทธ์การปรับตัวของธุรกิจโรงแรมภายใต้สถานการณ์โรคระบาด COVID -19. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ, 8(2), 114-131.
อุมารินทร์ เลิศสหพันธ์ และ พระครูปริยัติธรรมวงศ์. (2564). การพัฒนาคนรุ่นใหม่เพื่อขับเคลื่อนสังคมชาวพุทธ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8(1), 10-23.
Adel, A. M., Dai, X., Roshdy, R. S., & Yan, C. (2020). Muslims’ travel decision-making to non-Islamic destinations: perspectives from information-seeking models and theory of planned behavior. Journal of Islamic Marketing, 12(4), 918-940.
Albaity, M., & Melhem, S. B. (2017). Novelty seeking, image, and loyalty—The mediating role of satisfaction and moderating role of length of stay: International tourists' perspective. Tourism Management Perspectives, 23, 30-37.
Balaji, D. V., & Venkatesan, S. (2015). A study on religious tourism service quality in Navagraha temples, erstwhile Tanjore district. International Journal of Management, 6(10), 171-178.
Canny, I. U. (2013). An empirical investigation of service quality, tourist satisfaction and future behavioral intentions among domestic local tourist at Borobudur Temple. International Journal of Trade, Economics and Finance, 4(2), 86.
Carlson, J., O’Cass, A., & Ahrholdt, D. (2015). Assessing customers’ perceived value of the online channel of multichannel retailers: A two country examination. Journal of Retailing and Consumer Services, 27, 90-102.
Cheunkamon, E., Jomnonkwao, S., & Ratanavaraha, V. (2021). Impacts of tourist loyalty on service providers: Examining the role of the service quality of tourism supply chains, tourism logistics, commitment, satisfaction, and trust. Journal of Quality Assurance in Hospitality & Tourism, 1-33.
Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39-50.
Hair Jr, J. F., Sarstedt, M., Hopkins, L., & Kuppelwieser, V. G. (2014). Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): An emerging tool in business research. European business review.
Hambleton, R. K., & Rovinelli, R. J. (1986). Assessing the dimensionality of a set of test items. Applied Psychological Measurement, 10(3), 287-302.
Henseler, J., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2015). A new criterion for assessing discriminant validity in variance-based structural equation modeling. Journal of the Academy of Marketing Science, 43(1), 115-135.
Holbrook, M. B. (2006). Consumption experience, customer value, and subjective personal introspection: An illustrative photographic essay. Journal of Business Research, 59(6), 714-725.
Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling: A Multidisciplinary Journal, 6(1), 1-55.
Kannan, R. (2020). Perception Towards Significance of Holy Places and Revisiting Intention Of Religious Tourists In Himachal Pradesh. Medicine, 7(6). 441-448.
Karl, M., Muskat, B., & Ritchie, B. W. (2020). Which travel risks are more salient for destination choice? An examination of the tourist’s decision-making process. Journal of Destination Marketing & Management, 18, 100487.
Kusumawati, A., Rahayu, K. S., & Putra, E. W. (2022). Antecedents customer decision to visit Yogyakarta as special regions in Indonesia. Cogent Business & Management, 9(1), 2050062.
Lunenburg, F. C. (2010). The decision making process. National Forum of Educational Administration & Supervision Journal, 27(4), 1-12.
Mamula Nikolić, T., Pantić, S. P., Paunović, I., & Filipović, S. (2021). Sustainable travel decision-making of Europeans: Insights from a household survey. Sustainability, 13(4), 1960.
Nur'afifah, O., & Prihantoro, E. (2021). The Influence of Social Media on Millennial Generation about Travel Decision-Making. Journal the Messenger, 13(3), 238-255.
O’Muircheartaigh, C., Schwarz, N., Hox, J. J., Heath, A., Martin, J., Johnson, T., & Sitter, R. R. (1997). Survey measurement and process quality. Wiley Online Library.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing, 49(4), 41-50.
Rohman, I. Z. (2021). What Creates Tourist Satisfaction in Prambanan Temple?. KINERJA, 25(2), 151-163.
Roman, M., Bhatta, K., Roman, M., & Gautam, P. (2021). Socio-economic factors influencing travel decision-making of Poles and Nepalis during the COVID-19 pandemic. Sustainability, 13(20), 11468.
Steiger, J. H. (2007). Understanding the limitations of global fit assessment in structural equation modeling. Personality and Individual Differences, 42(5), 893-898.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis, 2nd Ed., New York : Harper and Row.
Yu, S., & Lee, J. (2019). The effects of consumers’ perceived values on intention to purchase upcycled products. Sustainability, 11(4), 1034.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยสยาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน