ตัวแบบประสิทธิภาพการจัดการสำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปสับปะรดไทย

ผู้แต่ง

  • โสรัตน์ มงคลมะไฟ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม
  • กระมล ทองธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสยาม
  • แสงสุวรรณ แสงสุวรรณ ภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การจัดการ, ประสิทธิภาพ, อุตสาหกรรมแปรรูปสับปะรด, ผู้ประกอบการ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการสำหรับ ผู้ประกอบการแปรรูปสับปะรดไทย ซึ่งดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างที่มาจากผู้บริหารของสถานประกอบการ อุตสาหกรรมแปรรูปสับปะรดไทยที่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การได้อย่างชัดเจน โดยการสุ่มอย่าง ง่าย จำนวน 50 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิในอุตสาหกรรม แปรรูปสับปะรดไทย จ านวน 9 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสมั พนัธ์และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคณู โดยใช้วิธี Enter method ซึ่งพบว่ามีปัจจัยจำนวน 11 ปัจจัย ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการสำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม แปรรูปสับปะรดไทยอย่างมีนัยสำคัญ

References

กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์ . (2548). การบริหารอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทร์. (2548). การจัดการ การผลิต และการดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.

ตนิ ปรัชญพฤทธิ์. (2534). ทฤษฎีองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล. (2544). การบริหารและจัดการองค์การอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

พิบูลย์ ทีปะปาล. (2551). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ:อมรการพิมพ์.

เปรื่อง กิจรัตน์ภร. (2544). การจัดองค์การอุตสาหกรรมและการผลิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือ ราชภัฎพระนคร.

สาโรจน์ โอพิทักษ์ชีวิน. (2552). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550).แผนพัฒนาการเกษตรในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554). กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (เอกสารอัดสำเนา)

สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2548). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2549). สังคมวิทยาองค์การ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

Amrine, H. T. et al. (1993). Manufacturing Organization and Management (6th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Barrett, D. M. (1996). Quality Assurance for Processed Fruit & Vegetable Products. Research. Davis California: UC Davis Department of Food Science and Technology.

Daft, R. L. (1986). Organization Theory and Design(2nd ed.). St Paul: West Publishing.

Dechpong, K. and Charmondusit, K. (2008). Eco-Efficiency Assessment as a Support Tool for Cleaner Technology. Thesis,Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University.

Drucker, P. F. (1984). Our Entrepreneurial Economy, Harvard Business Review, 62 (1),59-64.

Gaither, N. and Frazier, G. (1999). Production and Operation Management (8th ed.). Cincinnati: South-Western College Publishing.

Hicks, P. E. (1994). Industrial Engineering and Management. New York: McGraw-Hill.

Trienekens, J. and Beulens, A. (1998). The implications of EU food safety legislation and consumer demands on supply chain information systems. Thesis, Applied Computer Science Group, Wageningen University, The Netherlands.

V.N. Asopa. (2008). Competitiveness in Pineapple Canning Industry. Research. India:The IndianInstitute of Management.

Vogels, B. (2008). Innovativeness in fruit producing and fruit processing chains. Thesis in. Management, Economics and Consumer studies, Wageningen University

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-10-01