นวัตกรรมการตลาดสมัยใหม่เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ท้องถิ่นของชุมชนบ้านวังไทร อําเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้แต่ง

  • สุพัตรา คําแหง สาขาการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศทางธุรกิจ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • ชัญญานุช โมราศิลป์ สาขาการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศทางธุรกิจ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • บุปผชาติ แต่งเกลี้ยง สาขาการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศทางธุรกิจ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

คำสำคัญ:

สมุนไพรท้องถิ่น, การพัฒนาผลิตภัณฑ์, นวัตกรรม, การตลาดสมัยใหม่

บทคัดย่อ

การวิจัยพบว่า ผู้บริโภคเป็นเพศหญิง มีอายุ 61 ปี ขึ้นไป มีรายได้ 10,001-15,000 บาท อาชีพ การเกษตร การศึกษาตํ่ากว่าปริญญาตรี ซื้อผลิตภัณฑ์ยาหม่อง มีระยะเวลาการใช้ 6 เดือน ถึง 1 ปี ใช้ ผลิตภัณฑ์เมื่อมีอาการ ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ด้วยตนเอง จํานวนเงินที่ซื้อต่อครั้ง101-200 บาท ซื้อจาก ผู้ผลิต ความคาดหวังที่ทําให้ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สมุนไพร คือ วัตถุดิบสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติที่ ปลอดภัย ส่วนประสมทางการตลาด บรรจุภัณฑ์สะอาด คุณภาพดีและมีเครื่องหมาย มาตรฐานรับรอง ปัจจัยด้านนวัตกรรมการตลาดบรรจุภัณฑ์ที่สะอาด คุณภาพดีและมีเครื่องหมายมาตรฐานรับรองมีผลต่อการตัดสินใจซื้อ ข้อเสนอแนะ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรควรมีการโฆษณาผ่านสื่อ ควรจัดสรรช่องทางและสถานที่ การจัดจําหน่าย และการสร้างผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า

References

กมลพร นครชัยกุล. (2557). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้้งที่ 2).อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี.

จิตตินันท์ วรรณศุภผล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อความงามของ ผู้บริโภคสตรีในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จํากัด.

ดวงกมล ศิริยงค์. (2555). รูปแบบและกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยเพื่อ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ศึกษาเฉพาะ 4 ธุรกิจ เอสเอ็มอีที่ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายในรายการ เอสเอ็มอีตีแตก เพื่อชิงรางวัลสุดยอด เอสเอ็มอีแห่งปี ประจําปี 2554. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธันยมัย เจียรกุล ณัฐพล พนมเลิศมงคล และสุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ. (2557). ศักยภาพของ ผู้ประกอบการธุรกิจเครื่องปรุงรสไทยเพื่อเข้าสู่ตลาดการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารธุรกิจปริทัศน์(Business Review), 6(2),55-74.

นารีรัตน์ ฟักเฟื่ องบุญ. (2554). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าของ ผู้บริโภคในศู นย์จําหน่าย เอส.บี. ดีไซด์สแควร์ในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต (การจัดการ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญนาค ตีวกุล. (2543). ชนบทไทย: การพัฒนาสู่ประชาสังคม. กรุงเทพฯ: บรรณนิทัศน์.

ปณิศา มีจินดา. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ประสงค์ ประณีตพลกรัง. (2547). การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ปรียานุชแดงเดช. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดที่ทําจากสมุนไพร ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปุ่น คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ. (2543). บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรุงเทพฯ: ยี๋เฮง.

พรทิพย์ แก้วชิณ และ นฤทธิ์ พลสูงเนิน. (2558). การศึกษาภู มิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในเขตอําเภอวัง นํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา. รายงานการวิจัย, วิทยาลัยนครราชสีมา.

พัชรี สุวรรณเกิด. (2556). พฤติกรรมการบริโภคนํ้าสมุนไพรผสมว่านหางจระเข้ของนักศึกษา. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ภัทรกานต์ วรยศ และ วัลลภ ศัพท์พันธุ์. (2558). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับส่วนประสมทาง การตลาดที่มีต่อโครงการตลาดประมงท่าเรือพลีเทศบาลเมืองชลบุรี. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 7(2),293-322.

มาลัย กมลสกุลชัย และ พงศ์ศิรภพ ทองดีรวิสุรเกตุ. (2559). บทบาทและความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่มีต่อ สมุนไพรไทย. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

รุ้งทอแสง ขั้นสุวรรณ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องสําอางทั่วไปของสมุนไพร. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 8(1), 293-321.

วินัส ปานภูมิ. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อชาสําเร็จรูปพร้อมดื่มของผู้บริโภคในจังหวัด ปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการทั่วไป), มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา.

วุฒิ สุขเจริญ. (2559). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จี.พี.ไซเบอร์พรินท์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธีระฟีล์มและไซเท็กซ์.

ศุภาสินี โชคงาม และ สุมนา ธีรกิตติกุล. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสําอาง นําเข้าจากประเทศเกาหลีในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

สุพัฒน์ ศรีสวัสดิ์ และคณะ. (2556). พืชสมุนไพรประจําถิ่นและภูมิปัญญาการประยุกต์ใช้สําหรับการแพทย์พื้นบ้านในจังหวัดชายแดนใต้. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(4): ฉบับ พิเศษ, 14-27.

เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์และ รุจินาถ อรรถสิษฐ. (2550). สถานภาพและทิศทางการวิจัยภู มิปัญญาพื้นบ้าน ด้านสุขภาพ. นนทบุรี: สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.

อังวรา อรรถเจริญพร. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางตราสินค้าหนึ่ง ของไทยสําหรับผู้หญิงวัยทํางานในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Barsky, J.D. and Labagh, R. (1992). A Strategy for Customer Satisfaction. Cornell Hotel and Restaurant Administration Quarterly, 33(5),32-40.

Cockerell, N. (1996). Spas and Health Resorts in Europe. Journal of Travel and Tourism Analysis, (1),53-77.

Kotler, P. and Armstrong, G. (2012). Principle of Marketing (14thed.). Upper Saddle River: Pearson Education.

Yamane, T. (1973 ). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-17