บทบาทของเครื่องชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ต่อดัชนีราคาที่อยู่อาศัย

ผู้แต่ง

  • อาภรณ์ นุชาชาติพงศ์ ภาควิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
  • ปรัชญา ปิ่นมณี ภาควิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
  • สุรชัย ภัทรบรรเจิด ภาควิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
  • สมชัย เอื้อวิบูลย์ทรัพย์ ภาควิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
  • อดิศักดิ์ ลําดวน ภาควิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม

คำสำคัญ:

อัตราการเพิ่มของดัชนีราคาที่อยู่อาศัย, อัตรการเพิ่มของเครื่องชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

บทคัดย่อ

บทความนี้ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเพิ่มของเครืองชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์กับอัตราการเพิ่มของดัชนีราคาที่อยู่อาศัยโดยใช้วิธีการทางเศรษฐมิติ ได้แก่ การทดสอบความนิ่งของข้อมูลและการ วิเคราะห์เส้นถดถอย ผลการทดสอบความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า อัตราการเพิ่มของเครื่องชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภทไม่สามารถอธิบายอัตราการเพิ่มของดัชนีราคาบ้านเดียวพร้อมที่ดินและ อัตราการเพิ่มของดัชนีราคาทาวน์เฮ้าส์พร้อมที่ดิน อย่างไรก็ตาม หนึ่งในเครื่องชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ คือ อัตราการเพิ่มของที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่มในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล สามารถอธิบายอัตรา การเพิ่มของดัชนีราคาอาคารชุดได้ยิงไปกว่านั้น เครื่องชี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3 ประเภท ได้แก่อัตราการ เพิ่มของค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อัตราการเพิ่มของการออกใบอนุญาตจัดสรรทีดินทั้งประเทศ และอัตราการเพิ่มของการขอจดทะเบียนอาคารชุดทั้งประเทศ สามารถอธิบายอัตราการเพิ่มของดัชนีราคาที่ดินได้

References

เกรียงไกร ลิมปนสุคนธ์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจทีมีผลกับการเปลี่ยนแปลงดัชนี ราคาอสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

จันทิมา บุญแจ่ม และ ถวิล นิลใบ. (2560). การวิเคราะห์ปัจจัยกําหนดราคาบ้านจัดสรรโดยวิธี Hedonic Price กรณีศึกษา: เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร. เอกสารรวบรวมบทความที่นําเสนอในงาน ประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร์ครั้งที 12 (25 พฤษภาคม 2560) หัวข้อ ความผัน ผวนของเศรษฐกิจโลกต่อความยั่งยืนของอาเซียน, คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

โชติวุฒิ เหล่าไพโรจน์. (2555). ปัจจัยกําหนดราคาคอนโดมีเนียมในเขตกรุงเทพมหานคร. งานวิจัยเฉพาะ เรือง เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปัญญวัฒน์ จุฑามาศ. (2558). ปัจจัยทีส่งผลต่อการกําหนดราคาคอนโดมิเนียมในเขตกรุงเทพมหานคร ตอนเหนือ. รายงานการวิจัย, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2553). การประมาณการสําหรับวัฏจักรอสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทย. วารสารพัฒน บริหารศาสตร์, 50(1), 1-27.

ไพฑูรย์ ไกรพรศักดิ. (2559). เศรษฐมิติ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สันติยา เอกอัคร. (2557). ปัจจัยกําหนดราคาอสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดมิเนียมในเมืองพัทยา. งานวิจัยลําดับที 22/2557, คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สันติยา เอกอัคร และ ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี. (2548). การวิเคราะห์ปัจจัยกําหนดราคาในตลาดบ้านจัดสรร ประเภททาวน์เฮ้าส์และการประเมินคุณภาพของโครงการหลังการขาย: กรณีศึกษาจังหวัด ปทุมธานี. วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 12(1), 27-44.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-29