การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการกับพฤติกรรม การใช้บริการนวดแผนไทยของผู้บริโภคในโรงพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • มนสิชา สุขชม ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

ส่วนประสมทางการตลาดบริการ, นวดแผนไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อ พฤติกรรมการใช้บริการนวดแผนไทยของผู้บริโภคในโรงพยาบาลเขตกรุงเทพมหานครและเป็นการศึกษา เชิงรูปแบบการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ประชากรที่ใช้บริการนวดแผนไทยใน โรงพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และ ได้ผลการวัดความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.920 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติไคสแควร์ (Chi-square)

ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30-39 ปี อาชีพข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 10,001-15,000 บาท การเข้ารับบริการส่วนมากจะเลือกใช้บริการนวดแผนไทยในโรงพยาบาลภาครัฐ รูปแบบของการเลือกใช้บริการ คือ การนวดแผนไทย ความถี่ในการใช้บริการ คือ นานๆครั้ง เหตุผลที่ สำคัญที่สุดที่เลือกใช้บริการ คือ เพื่อรักษาสุขภาพ/การบ าบัดรักษาโรค และความเชื่อมั่นในมาตรฐาน การบริการ และการเข้ารับบริการส่วนใหญ่จะไม่เจาะจงเลือกพนักงาน

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการให้ความสำคัญมากที่สุด คือ ด้านบุคคลและพนักงาน 4.449 รองลงมาคือ ด้านกระบวนการ 4.381 ด้านการสร้างและนำเสนอ ลักษณะทางกายภาพ 4.323 และด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 4.221 ส่วนปัจจัยที่ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ ให้ความสำคัญมาก คือ ด้านราคา 4.172 ด้านสถานที่/ช่องทางการจัดจำหน่าย 4.101 และด้านการ ส่งเสริมการขาย 3.582 ตามลำดับ

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์และปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการของสถานบริการนวดแผนไทยในโรงพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการใช้บริการนวดแผนไทยของผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.05

References

กรทิพย์ จันทร์แจ้ง, วันทนีย์ ภูมิภัทราคม, และ ธีร์ธนิกษ์ ศิริโวหาร. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ การเลือกร้านนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์, 3(3), 119-132.

กัลยา วาณิชย์กุล. (2551). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติส าหรับการบริหารและวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุลวดีคูหะโรจนานนท์. (2545). หลักการตลาด. ปทุมธานี: สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์.

คะแนน พวงมาลัย. (2547). การศึกษาการบริหารจัดการสถานประกอบการนวดแผนโบราณ: กรณีศึกษา วิถีชีวิตของหมอนวดแผนโบราณ. งานวิจัย. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2545). การตลาดธุรกิจบริการ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.

ชำนาญ ผึ่งผาย. (2550). ผลของการนวดแผนไทยประยุกต์ต่อการผ่อนคลาย. ปริญญานิพนธ์. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์. (2552). แพทย์ทางเลือก. กรมอุตสาหกรรมสาร. 52 (กรกฎาคม - สิงหาคม), 24-25.

ธนายุ ภู่วิทยาธร. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสปาในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชสุราษฎร์ธานี.

ธีรพันธ์ โล่ทองคำ. (2544). กลยุทธ์สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุงเทพมหานคร: ทิปปิ้ง พอยท์.

นราศรี ไววนิชกลุ และชศู กัดิ์อดุ มศรี. (2538). ระเบียบวิจัยทางธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภากร สุมะโน. (2554). สาธารณสุขเพิ่มอัตรานักการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลทั่วไทย. สืบค้น เมื่อ1 กุมภาพันธ์ 2555, จาก:http://www.unigang.com

พรกมล ปริญญารักษ์. (2551). การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของสถานบริการนวดแผนไทยสตาร์ไทยมาสซาส ซาวน่า แอนด์ฟิ ตเนส. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรรษฐมนพร มนประณีต. (2552). ผลระหว่างการนวดไทยแบบราชสำนักกับการรับประทานยาต่อการลดอาการปวดข้อเข่าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พหล ศักดิ์คะทัศน์และ อิทธิฤทธิ์ พลังธีรสิน. (2552). การพัฒนาดัชนีชี้วัดและปัจจัยที่มีผลต่อ ความสำเร็จอย่างยั่งยืนของธุรกิจสปาและนวดแผนไทยโดยชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัย. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ยุพา วรรณวรรณวาณิชย์. (2548). การตลาดบริกา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรพจน์ บุษราคัมวดี. (2550). นวดแผนไทยธุรกิจที่ไม่ควรมองข้าม. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2555, จาก http://fms.vru.ac.th

วิสาขา ภู่จินดา. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติด้านสิ่งแวดล้อม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บางกอกบล็อก.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: ไดมอนอินบิสสิ เน็ตเวิร์ล.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: ไดมอนอินบิสสิ เน็ตเวิร์ล.

ศูนย์พัฒนาตำราการแพทย์แผนไทย. (2548). คู่มืออบรมการนวดไทยแบบเชลยศกัดิ์(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บริษัท สามเจริญพาณิชย์ จำกัด.

ศศิวิมล ดีโนนโพธิ์. (2550). พฤติกรรมในการใช้บริการนวดแผนไทยในสถานบริการแห่งหนึ่งในเขต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัย. คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สถาบันการแพทย์แผนไทยและคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถาน

บริการสาธารณสุขของรัฐ. (2553). มาตรฐานงานบริการด้านการนวดไทยในสถานบริการ สาธารณสุขของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

สมหมาย แตงสกุล และธาดา วิมลวัตรเวที. (2548). สุขศึกษาและพลศึกษามัธยม 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.

สันติ ตะวัน. (2554). สาธารณสุขเปิดโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย นำร่อง 9 แห่งแรกในประเทศ. สืบค้น เมื่อ14 มีนาคม 2555,จาก http://pr.prd.go.th

สุชล แว่นแก้ว. (2550). การศึกษาการยอมรับของผู้บริหารทางการแพทย์และสาธารณสุขในการ ผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสร้างเสริมสุขภาพ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุพัฒน์ วิมลสุขนพรัตนม. (2551). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกชม ภาพยนตร์ของผู้บริโภคที่โรงภาพยนตร์เฮ้าส์อาร์ซีเอ. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โสมนัสสา โสมนัส. (2549). พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในการเลือกใช้บริการนวดแผนไทยในเขตอำเภอ เมืองจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2549). พฤติกรรมผู้บริโภค (ฉบับมาตรฐาน). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัครภา รัตนนิตย์. (2553). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดค้าปลีกที่มีความสมัพนัธ์ต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์สปา กรณีศึกษาบ้านชมนาดฯ เขตปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. สารนิพนธ์ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก. สถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์.

อัจฉริยา อยู่ประเสริฐ. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรับบริการนวดแผนไทยของผู้ป่วยโรคปวดกล้ามเนื้อและโครงร่างทั่วไป ที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ศูนย์บริการ สาธารณสุข เทศบาลเมืองลำพูน. การค้ นคว้าอิสระ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Asseal, H. (2004). Consumer Behavior: A Strategic Approach. Boston: Houghton Mifflin.

Belch, G. E. and Belch, M. A. (1993). Introduction to Advertising and Promotion: An Integrated Marketing Communications Perspective (2nd ed.). Boston: Richard D. Irwin.

Engel, J. F., Blackwell, R. D., and Miniard, P. W. (1993). Consumer Behavior (7th ed.). Fort Worth: The Dryden Press.

Etzel, M. J, Walker, B. J., and Stanton, W. J. (2007). Marketing (14th ed.). Boston: McGraw Hill.

Gronroos, C. (1990). Service Management and Marketing: Managing the Moments of Truth in Service Competition. Lexington: Lexington Books.

Kerin, R. A., Hartley, S. W., and Rudelius, W. (2004). Marketing: The Core. Boston: McGraw Hill.

Kotler, P. and Keller, K. L. (2009). Marketing Management (13th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Kotler, P. (2003). Marketing Management. Englewood Cliffs: Prentice Hall.

McCarthy, E. J., and Perreault, W. D. Jr. (1996). Basic Marketing: A Global Managerial Approach(12th ed.). Chicago: Irwin.

Mowen, J.C. and Minor, M. (1998). Consumer Behavior (5th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Kotler, P. (1984). Marketing Management: Analysis, Planning, and Control. New Jersey: Prentice Hall.

Schiffman, L. G. and Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Solomonl, M. R. (2007). Consumer Behavior (7th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-21