พฤติกรรมการใช้บริการทางการแพทย์ของผู้รับบริการชาวต่างชาติ

ผู้แต่ง

  • จอมขวัญ ศุภศิริกิจเจริญ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่

คำสำคัญ:

ความภกัดีของลูกคา, บริการทางการแพทย์, ผู้รับบริการชาวต่างชาติ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของภูมิลำเนาผู้รับบริการชาวต่างชาติต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการทางการแพทย์ ด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ (Chi – square test) และศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการทางการแพทย์ของผู้รับบริการชาวต่างชาติ วิเคราะห์สมการ ถดถอย (Regression analysis) ด้วยแบบจำลองโพรบิท (Probit Model) จากกลุ่มตัวอย่างผู้รับบริการชาวต่างชาติจำนวน 400 ราย

ผลการศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภูมิลำเนาผู้รับบริการชาวต่างชาติต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการทางการแพทย์ พบว่า ภูมิลำเนาของผู้รับบริการชาวต่างชาติมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจกลับมา ใช้บริการทางการแพทย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และการวิเคราะห์ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการทางการแพทย์ พบว่า การบริการดูแลเอาใจใส่ เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการทางการแพทย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะต่อภาคธุรกิจ ในการยกระดับพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านความเป็นเลิศในการบริการด้วยการบริการดูแลเอาใจใส่ เป็นกลยุทธ์สร้างความได้เปรียบเหนือประเทศคู่ แข่งขันในภูมิภาคอาเซียน เพื่อให้ผู้รับบริการชาวต่างชาติประทับใจ และกลับมาใช้บริการอีกในอนาคต

References

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2555). บทสรุปผู้บริหารสัมมนาเรื่องการฟื้นฟูเศรษฐกิจประเทศด้วยบริการสาธารณสุขระดับนานาชาติ. เอกสารประกอบการสัมมนา วันที่ 13 กรกฎาคม 2555, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.

ครองขวัญ เสวกสูตร. (2553). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ารับบริการทางการแพทย์ของผู้ป่วยชาวต่างประเทศในโรงพยาบาล เอกชนไทย . วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฉัตรยาพร เสมอใจ และ ฐิตินันท์ วารีวนิช. (2551). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.

บุญเสริม บุญเจริญผล. (2556). กลุ่มตัวอย่าง และสถิติวิเคราะห์ในการวิจัย (บทความทางวิชาการสำหรับ นักศึกษามหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

ปณิศา มีจินดา. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.

พิมพา หิรัญกิตติ และคณะ. (2552). การศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงบริการทางการแพทย์ของนักท่องเที่ยวต่างชาติ. รายงานการวิจัย, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2553). หลักสถิติวิจัยและการใช้โปรแกรม SPSS. กรุงเทพฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท์ จำกัด.

ศกัดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ และ ปารย์ทิพย์ ธนาภิคุปตานนท์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพบริการที่ได้รับกับความพึงพอใจและความภักดีของคนไข้กรณีศึกษา โรงพยาบาลเอกชนในเขต กรุงเทพมหานคร. วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(2), 106-172.

ศิริกุล การดา. (2552).แนวทางการพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน สำหรับผู้ใช้บริการชาวต่างชาติ กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน. (2555). แนวโน้มของธุรกิจบริการทางการแพทย์ในทวีปเอเชีย และโอกาสของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2555, จาก http://journalcorpus.wordpress.com/category/healthcare-tourism/

สำนักกรรมาธิการกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข. (2555). การฟื้นฟูเศรษฐกิจประเทศด้วย บริการสาธารณสุขระดับนานาชาติ. เอกสารประกอบการสัมมนา วันที่ 13 กรกฎาคม 2555, สำนักกรรมาธิการ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2553). คู่มือเพื่อการบริการการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์สำหรับผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม/สถานพักฟื้น. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม.

Bashoff, C. and Gray, B. (2004). The Relationships Between Service Quality, Customer Satisfaction and Buying Intention in the Private Hospital Industry. South African Journal of Business Management, 35(4), 27-37.

Blackwell, R.D, Miniard, P. W., and Engel, J.F. (2006). Customer Behavior (10th ed.). Canada: Thomson South-Western.

Boonserm, B. (2013). Managerial Economics: An Economics Archive. Retrieved August 20, 2013, from http://www.scribd.com/doc/42517625/Managerial-Economics-Full

Chee, H.L. (2008). Medical Tourism and the State in Malaysia and Singapore. Journal of Global Social Policy (Glob. Soc. Policy), 10(3), 336-357.

Chen, M.L. and Chen, K.J. (2010). The Relations of Organizational Characteristics, Customer Oriented Behavior and Services Quality. African Journal of Business Management, 4(10), 2059-2074.

Devon, M.H. (2007). Medical Tourism: Global Competition in Health Care. Nation Center for Policy Analysis [NCPA]. Policy Report No.3042007. Retrieved January 26, 2012, from www.ncpa.org/pub/st304

Gujarati, D.N. (2004). Basic Econometrics (5th ed.). New York: McGraw-Hill.

________. (2006). Essentials of Econometrics (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Hawkins, D.I. and Mothersbaugh, D.L. (2010). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy (11th ed.). New York: McGraw-Hill.

Jill, R.H., Leigh, T., and Kimball, A.M. (2010). Risks and Challenges in Medical Tourism: Understanding the Global Market for Health Services. Santa Barbara: ABC-CLIO.

Kim, Y. et al. (2008). A Study on Medical Services Quality and Its Influence Upon Value of Care and Patient Satisfaction Focusing Upon Outpatients in Large-Sized Hospital. Total Quality Management & Business Excellence, 19(11), 12-40.

Parasuraman, A., Zeithamal, V.A., and Berry, L.L. (1985). A Conceptual Model of Services Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing, 49(4), 41-50.

Schiffman, L.G. and Leslic L.K. (2000). Consumer Behavior (7th ed.). New York: Prentice Hall.

Shukla, P. (2004). Effect of Product Usage, Satisfaction, and Involvement on Brand Switching Behavior. Asia Pacific Journal of Marketing Logistics, 16(4), 82-104.

Woodside, A.G., Frey, L., and Daly, R.T. (1989). Linking Service Quality, Customer Satisfaction, and Behavioral Intention. Journal of Healthcare Marketing, 9(4), 5-17.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-20