The Development Guidance and Tourism Promotion of Nakhon Nayok Province

Authors

  • Sarotorn Lomkampang

Keywords:

tourism, tourism promotion, tourism development

Abstract

The objectives of the development guidance and tourism promotion of Nakhon Nayok Province were 1) to investigate the behavior of tourists traveling to Nakhon Nayok Province, 2) to assess the potential of tourism in Nakhon Nayok Province, and 3) to study the recommendations on the development and promotion of tourism potential in Nakhon Nayok Province. This research was a survey study. The sample group was 100 tourists who had traveled to Nakhon Nayok Province

            The results of this study on the development and promotion of tourism potential in Nakhon Nayok Province revealed that most of the tourists preferred to travel by private cars and they preferred nature tourism the most. For the development and promotion of tourism potential, it was found that 1) general information; Nakhon Nayok Province is a province with a variety of tourist attractions and tourism activities; however, more tourism policy should be promoted toattract more tourists to travel, 2) travel safety; traveling in Nakhon Nayok Province is easy and convenient using signs which are clear and easy to understand; however, provincial officials should increase tourists’ more travel safety of life and property, and 3) facilities; there are many efficient related agencies for proper treatment of waste management in Nakhon Nayok Province, but in some areas, there is still a lack of waste management methods. Also, there should be management of parking spaces to be sufficient for tourists, and 4) tourism promotion; there should have advertising and public relations to promote tourism in Nakhon Nayok Province for online channels, flyers or brochures. Thus, government agencies should be involved in the development and promotion of tourism in Nakhon Nayok Province.

References

จารุภัทร ทองลงยา. (2563). ธุรกิจท่องเที่ยว ผลกระทบใหญ่ต่อเศรษฐกิจไทย. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://thestandard.co/tourism-business-large-impact-on-the-thai-economy/

เถกิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2555). การจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวในอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา (ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณทิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). สถิติชวนใช้. กรุงเทพฯ: ไอคอนพริ้นติ้ง.

ปิยาพัชร วัฒนแสงประเสริฐ. (2561). แนวทางการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยวเมืองรองกรณีศึกษา: จังหวัดนครนายก. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพมหานคร.

แพรดาว ฟูพาณิชย์พฤกษ์. (2559). กรอบนโยบายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน:กรณีศึกษา เกาะช้าง จังหวัดตราด. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 23(1), 39-64.

ลักษณา เกยุราพันธ์, วรรณวีร์ บุญคุ้ม และนรินทร์ สังข์รักษา. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนชาวไทยพวน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ จังหวัดนครนายก. วารสารวิชาการVeridian E-Journal ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 2190-2201.

ศรัญญา ศรีทอง, คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา, อังสุมาลิน จำนงชอบ และกิ่งกนก เสาวภาวงศ์.(2561). ความต้องการการท่องเที่ยว เพื่อการเรียนรู้สำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มครอบครัวในจังหวัดนครนายก. วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา, 10(2), 145-160.

ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดร, โอชัญญา บัวธรรม และชัชชญา ยอดสุวรรณ. (2559).แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข., 9(1), 234-259.

สุรเจต ปัณณะวงศ์ และคณะ. (2561). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย, หน้า 1556-1566. ราชบุรี: ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.

สำนักงานจังหวัดนครนายก. (2559). แผนพัฒนาจังหวัดนครนายก 4 ปี (พ.ศ.2561-2564) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2561 จังหวัดนครนายก. สืบค้น 7 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.senate.go.th/assets/ portals/183/ fileups/331/files/สรุปแผนพัฒนาจังหวัด%20ปี%2061-64%20(1).pdf

สำนักงานจังหวัดนครนายก. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดนครนายก 4 ปี (พ.ศ.2561-2564). สืบค้น 7 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.nakhonnayok.go.th/home/upload/photo/web/ENxZ0hIP.pdf

สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง. (2563). สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวเดือนมีนาคม 2563. สืบค้น 7 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.mots.go.th/ download/article/article_20200428141351.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). COVID-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย ไตรมาส 1/2563. สืบค้น 7 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.mots.go.th/download/ TourismEconomicReport/4-1TourismEconomicVol4.pdf

เอกชัย ชำนินา. (2563). ความสามารถของภาครัฐกับการจัดการการท่องเที่ยวภายใต้สถานการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(11), 420-433.

Erdfelder, E., Faul, F., & Buchner, A. (1996). GPOWER: A general poweranalysis program. Behavior Research Methods, Instruments, & Computers, 28, 1–11.

Mastercard’s Global Destination Cities Index. (2019). Global Destination Cities Index. Retrieved on 7 September, 2020, from https://newsroom.mastercard.com/wp-content/uploads/2019/09/ GDCI-Global-Report-FINAL-1.pdf

Downloads

Published

2022-06-30

How to Cite

Lomkampang, S. (2022). The Development Guidance and Tourism Promotion of Nakhon Nayok Province. Journal of Liberal Arts RMUTT, 2(1), 83–94. retrieved from https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JLA/article/view/1489

Issue

Section

Research Article