ความสมดุลของชีวิตในการทำงาน และการผสมผสานการใช้ชีวิตและการทำงานอย่างลงตัวของพนักงานโรงแรมภายหลังสถานการณ์โควิด-19 (COVID-19)
DOI:
https://doi.org/10.60101/jla.2024.5.1.4490คำสำคัญ:
ความสมดุลชีวิตในการทำงาน , การผสมผสานการใช้ชีวิตและการทำงานอย่างลงตัว , พนักงานโรงแรม, สถานการณ์โควิด-19บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เป็นวิกฤตร้ายแรงระดับโลกที่ส่งผลกระทบที่ส่งผลได้ต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ เป็นความท้าทายรูปแบบใหม่ของผู้ประกอบการธุรกิจที่พักแรมจะต้องปรับรูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมและเพื่อให้ธุรกิจสามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้สถานการณ์ที่มีความผันผวนสูงและไม่สามารถควบคุมได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ภายในธุรกิจโรงแรมซึ่งเผชิญกับความกดดันและการทำงานอย่างหนัก โดยบทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจโรงแรมภายหลังสถานการณ์ COVID-19 โดยประยุกต์ใช้แนวคิดความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว และแนวคิดการผสมผสานเรื่องการทำงานและเรื่องชีวิตส่วนตัวได้อย่างลงตัว พร้อมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะต่อผู้ประกอบการธุรกิจที่พักแรมในการวางแผนกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับเจ้าของธุรกิจโรงแรม โดยผลของการทบทวนเอกสารและสังเคราะห์แนวคิดในข้างต้น พบว่า ความสมดุลในชีวิตของพนักงานโรงแรมรุ่นใหม่ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ด้านคือ 1) การมีความสุขทั้งชีวิตส่วนตัวและชีวิตการทำงาน 2) การเลือกทำงานที่สร้างคุณค่าให้กับตัวเอง และ 3) การดำเนินชีวิตอยู่กับปัจจุบันอย่างมีสติภายใต้การทำงานและใช้ชีวิตอย่างเต็มความสามารถ โดยประเด็นดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมควรให้ความสำคัญต่อพฤติกรรมและความคาดหวังของพนักงานที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยสนับสนุนให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี
อันจะส่งผลให้เกิดการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนและช่วยขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดได้
References
กฤษกรณ์ เจนจิตร์, ยุทธชัย ฮารีบิน และรุ่งนภา อริยะพลปัญญา. (2566). แนวทางความสมดุลของชีวิตและการทำงานของโรงแรมแห่งหนึ่งในจังหวัดภูเก็ต. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชพฤกษ์วิชาการ ครั้งที่ 2 วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2566, หน้า 320-334. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยราชพฤษ์.
กฤษฏิ์ วิภาสสุวรรณ. (2557). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3873
กิรฐากร บุญรอด, สุณิสา ผลโชติ และรุษยา คำนวณ. (2565). แนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจโรงแรมในช่วงวิกฤต โควิด-19. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 15(1), 139-148.
จุติมา บุญมี และพีรวิชญ์ สิงฆาฬะ. (2566). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจโรงแรมภายหลังเหตุการณ์ COVID-19. ตรัง: วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง.
ชนัญญา พิกุลทอง. (2549). การจัดการความสมดุลระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว (Work Life Balance) ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของผู้ปฎิบัติงานในสนามบินนานาชาติภูเก็ต. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก http://www.mbaphangnga.ru.ac.th/documents/IS/IS3/6424103018.pdf
ชัยทวี เสนะวงศ์. (2565). “Time to say goodbye” แนวคิดของพนักงานเมื่อเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.ftpi.or.th/2022/98070?fbclid=IwAR3jn7IIKtCIji6nwJDGyb9mZDL0_JIjm3GRQjFD3OZ2POgbw3AF6eJh1gc
ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2565). เจาะลึกความคาดหวังและความกังวลของพนักงานยุคใหม่. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.pwc.com/th/en/pwc-thailand-blogs/blog-20220614.html
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). ผลกระทบและการปรับตัว (Resilience) ของผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและร้านอาหารช่วงโควิด-19: วิเคราะห์จากหลักคิด Outside-In. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/articles-and-publications/articles/Article_26Oct2021.html
นิศาชล โทแก้ว, สุธนา บุญเหลือ และภูริศร์ พงษ์เพียจันทร์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความสมดุลชีวิตในการทำงานกับผลการปฏิบัติงานของผู้จัดการแผนกต้อนรับส่วนหน้าธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33(2), 163-172.
เนตรนภา ไวทย์เลิศศักดิ์ (ยาบุชิตะ) และณัฐพงษ์ มาศจิราภา. (2559). ผลกระทบของคุณภาพชีวิตการทำงานและความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน กรณีศึกษาโรงแรมเซ็นทารา จังหวัดขอนแก่น. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 11(1), 38-52.
ประชาชาติธุรกิจ. (2565). แรงงานขาด-ต้นทุนพุ่ง “โจทย์ใหม่” แผนฟื้นท่องเที่ยวไทย. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.prachachat.net/tourism/news-935387
ปิยะพร ขุนทองเอก. (2566). Work Life Balance VS Work Life Integration. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://pwg.co.th/articles/work-life-balance-vs-work-life-integration/
พัชรียา แก้วชู. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการท่องเที่ยวแบบ New Normal หลังการแพร่ระบาดโควิด-19. กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
พัลลพ หามะลิ และประสพชัย พสุนนท์. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรม ในศตวรรษที่ 21 ในมุมมองของพนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงแรมระดับ 4-5 ดาว เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(34), 54-69.
มารวย วิชาญยุทธนากูล. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมระดับ 5 ดาว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.
สมาคมโรงแรมไทย. (2565). สรุปผลสำรวจ ความเชื่อมั่นผู้ประกอบการที่พัก ก.ค. 65 โดย ธปท. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก http://www.thaihotels.org/17352612/สรุปผลสำรวจ-ความเชื่อมั่นผู้ประกอบการที่พัก-กค-65-โดย-ธปท
สราวลี แซงแสวง. (2559). คุณภาพชีวิตในการทำงานและความสมดุลของชีวิตในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการเจนเนอเรชั่น X และเจนเนอเรชั่น Y. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุนิสา เหลืองปัญญากุลแ ละเกวลิน เศรษฐกร. (2563). ความสัมพันธ์ของความสมดุลชีวิตและงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.
อภิราม จันทรเสน. (2565). สำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุน. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.dtn.go.th/th/file/get/file/1.202210040eb2e7eaf4a807f066cf680109e53234094611.pdf
อัชฌา โนนเพีย. (2563). กลยุทธ์ทางการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคหลังวิกฤตการณ์โควิด-19 ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการธุรกิจโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.
Anguera-Torrell, O., Aznar-Alarcón, J. P., & Vives-Perez, J. (2021). COVID-19: Hotel industry response to the pandemic evolution and to the public sector economic measures. Tourism Recreation Research, 46(2), 148-157.
HREX.asia (2019). ความคาดหวังของพนักงานยุคใหม่ในโลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิม. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://th.hrnote.asia/personnel-management/190726-organization-improvement/
Intulak, K., & Oumtanee, A. (2014). Building work-life balance of professional nurses in a private hospital. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15(3), 382-389.
Jobsdb. (2566). พนักงานคาดหวังอะไรในชีวิตการทำงาน. Retrieved on February 22, 2024, from https://shorturl.at/uADIN
Khaled adnan Bataineh. (2019). Impact of Work-Life Balance, Happiness at Work, on Employee Performance. (International Business Research). Jordan: Irbid National University.
LHH Thailand (2020). “Well-being” ความคาดหวังใหม่ของพนักงานในยุคปัจจุบัน. Retrieved on February 22, 2024, from https://www.lhh.co.th/employee-well-being/
Sahatorn Petvirojchai. (2021). Workplace Happiness วิธีสร้างความสุขในการทำงานให้ยั่งยืน. Retrieved on February 22, 2024, from https://th.hrnote.asia/tips/workplace-happiness-210708/
Salika. (2024). ชี้ 3 มิติความอ่อนแอของ ตลาดแรงงานไทย ปี 2567 ที่รับมือได้ด้วยการปฏิวัติระบบพัฒนาทักษะให้คนไทย. Retrieved on February 22, 2024, from https://www.salika.co/2024/02/15/skillset-revolution-in-thai-labor-market-2567/
SME Thailand. (2565). มนุษย์ยุคใหม่ต้องรู้จัก Work-Life Harmony แนวคิดทำงานที่จะผสานความสุขกับเวิร์คไลฟ์ให้สมดุล. Retrieved on February 22, 2024, from https://www.smethailandclub.com/startup-qlife/8085.html
Terri, Ling. (2018). 6 Ways to Achieve Work-Life Harmony, rather than Balance. Retrieved on February 22, 2024, from https://kashoo.com/blog/6-ways-to-achieve-work-life-harmony/
ThaiPR.NET (2567). โรเบิร์ต วอลเทอร์ส เปิดเผยผลสำรวจเงินเดือนประจำปี 2567. Retrieved on February 22, 2024, from https://www.thaipr.net/business/3429435
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศิลปศาสตร์ มทร.ธัญบุรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.