บทปริทัศน์หนังสือ “นางยี่เกชาย ยุครัฐ (ไม่) นิยม”
บทคัดย่อ
ยี่เกเป็นมหรสพที่พัฒนามาจากละครนอกซึ่งใช้ผู้ชายล้วนเป็นนักแสดง เนื่องจากในยุคแรกผู้หญิงมีหน้าที่หลักคือไปเล่นละครรำ เหตุที่มาจากละครนอกเนื่องจากถูกจริตกับชาวบ้านตรงที่มีความตลกขบขัน มีเนื้อเรื่องที่เข้าใจง่าย มักนำเรื่องราวจากวรรณคดีไทยมาเล่น และมีราคาถูกมากในการรับชมเมื่อเทียบกับมหรสพอื่น ๆ ความน่าสนใจของยี่เกชายล้วนก็คือ การแสดงบทบาททั้งตัวนายและตัวนางที่จะต้องใช้ความสามารถในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก จริตจะกร้านและท่าทางให้เหมือนผู้หญิงให้ได้ ยิ่งถ้าผู้ชายนั้นมีจิตใจเป็นหญิงด้วยแล้วก็ยิ่งจะทำให้การสวมบทบาทตัวนางสมจริงมากยิ่งขึ้น
References
Geertz, Clifford. (1973). Interpretation of Cultures. New York: Basic Books.
Geertz, Clifford. (1981). Negara: The Theatre State in 19th Century Bali. Princeton: Princeton University Press.
Mead, Margaret. (1928). Coming of Age in Samoa: A Psychological Study of Primitive Youth for Western Civilization. USA: William Morrow and Co.
Turner, Victor. (1996). The Ritual Process: Structure and Anti-Structure. London: Routledge.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศิลปศาสตร์ มทร.ธัญบุรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.