ยุคแห่งการปรับตัวของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
คำสำคัญ:
การปรับตัว , การจัดการ , ทรัพยากรมนุษย์บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ขอบเขตทรัพยากรมนุษย์ในยุคถัดไป กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประโยชน์ของการศึกษาผลกระทบและกลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0 มุมมองธุรกิจและการทำงานในยุคปัจจุบันจะเน้นผู้ที่มีความสามารถ ไหวพริบในการทำงาน การจัดการข้อมูลทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางสังคมคือสิ่งที่ขาดไม่ได้ ดังนั้นฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องอาศัยเทคโนโลยีช่วยในการพัฒนาประสบการณ์ของพนักงาน เสริมสร้างพลังให้แก่บุคลากร ทำให้บุคลากรมีส่วนร่วมและปรับตัวได้ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
References
จิรประภา อัครบวร เเละคณะ. (2552). การจัดการความรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการ.
ชวลิต ศุภศักดิ์ธำรง. (2561). บทบาทของฝ่ายการจัดการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. Veridian E-Journal, Silpakorn
University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(2), 1702-1713.
ชัยรัตน์ ชามพูนท, กมลพร กัลยาณมิตร, สถิตย์ นิยมญาติ และทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ในยุคการเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(1), 195-208.
ฑัมม์พร นิพนธ์พิทยา. (2561). ความสำคัญของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์. วารสารวิจัยวิชาการ, 1(2), 121-136.
ทนงค์ศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณัชนันทน์ ศิริไสยาสน์ และโชติ บดีรัฐ. “New Normal” วิถีชีวิตใหม่และการปรับตัวของคนไทย
หลังโควิด-19 : การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(3), 371-386.
ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร. (2564). การสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้สมัครงานแนวโน้มการสรรหาบุคลากรที่ผู้บริหาร HR ต้องรู้.
วารสารปัญญาภิวัฒน์, 13(1), 267-278.
ประคอง สุคนธจิตต์. (2562). ทรัพยากรมนุษย์ยุค 4.0. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นายเรืออากาศ, 7, 17-28.
ผกาวรรณ ไพรัตน์ และวิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์. (2564). อิทธิพลแนวทางปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต่อพฤติกรรม
การสร้างนวัตกรรมในการทำงาน: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. National & International Conference, 2(14), 486-495.
พัชรกันต์ นิมิตรศดิกุล และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559).กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
และศิลปะ, 9(3), 631-652.
พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค DIGITAL DISRUPTION ต่อการศึกษา.
วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.
ภัทราวดี ปรีจำรัส. (2564). ผลกระทบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงรุกที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรม
ในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ภิราช รัตนันต์. (2558). พันธกิจและบทบาทของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์,
(30), 1-16
วิชุดา สร้อยสุด, เมธินี อินทร์บัว, จีรภา มิ่งเชื้อ, ยุวดี เคน้ำอ่าง และโชติ บดีรัฐ. (2564). การจัดการทรัพยากรมนุษย์
หัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนองค์กรยุคปัจจุบัน. .Journal of Modern Learning Development, 6(5),
-352.
วิภัสสร ยอดยิ่ง. (2564). บทบาทของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ในการรับมือกับสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรน่า 2019 (COVID-19) (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.
สมบูรณ์ โตจิตร. (2564). บทบาทผู้นําในการพัฒนาองค์การ. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 1 (3),
-70.
สมพิศ ทองปาน. (2559). HR เชิงรุกในยุคของการเปลี่ยนแปลง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์
ในพระบรทราชูปถัมภ์, 10(3), 265-258.
อรรนพ เรืองกัลป์ปวงศ์ และสราวรรณ์ เรืองกัลป์ปวงศ์. (2564). บทบาทใหม่ของผู้นำการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุค
เศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน, 2(3), 64-77.
Aslanertik, Banu Esra & Çolak, Murat. (2021). The Link Between Sustainability Reporting and The Core
Characteristics of Sustainable Human Resource Management. International Journal of
Contemporary Management Research Article, 57, 15-24. Retrieved From https://sciendo.com/pdf/10.2478/ijcm-2021-0010
Azizi, Mohammad Reza, Atlasi, Rasha, Ziapour, Arash, Abbas, Jaffar & Naemi, Roya. (2021). Innovative human
resource management strategies during the COVID-19 pandemic: A systematic narrative review approach. Heliyon, 7(6), e07233. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2021.e07233
Budhiraja, Sunil, Varkke, Biju & McKenna, Stephen. (2021). Work–life balance indicators and talent
management approach: a qualitative investigation of Indian luxury hotels. Employee Relations: The International Journal© Emerald Publishing Limited, 0142-5455. DOI 10.1108/ER-05-2021-02.
Fenech, Roberta. (2022). Human Resource Management in a Digital Era Through the Lens of Next Generation
Human Resource Managers. Journal of Management information and Decision Sciences, 25(S1), 1-10.
Higgins, Jeff. (2020). New Era for HR, A New Human Capital Reporting Standard. Retrieved on 25 May,
, from https://www.hcmi.co/post/a-new-era-for-hr-a-new-human-capital-reporting-standard
Lee, Soo-Hoon. (2021). An Attention-Based View of Strategic Human Resource Management. Academy of
Management Perspectives, 2(35), 237-247.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารศิลปศาสตร์ มทร.ธัญบุรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.