แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4
คำสำคัญ:
แนวทางการพัฒนา, ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
การศึกษาอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็น ปัจจัยสำคัญและเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 98 คน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่และร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified ผลการศึกษา พบว่า
- ทักษะการพูด มีค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นมากที่สุด รองลงมา คือ ทักษะการเขียน และสุดท้ายคือ ทักษะการอ่านและทักษะการฟัง
- ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ปัจจัยด้านบุคคล ส่วนปัจจัยด้านการส่งเสริม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด
- แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ด้านการวางแผน กำหนดนโยบายแผนพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาในตำแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษาอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง 2) ด้านการปฏิบัติ ดำเนินการพัฒนาตามแผนการดำเนินการที่กำหนดไว้ อย่างเป็นขั้นตอนโดยวิธีการที่หลากหลาย 3) ด้านการตรวจสอบ มีการประเมินติดตามผลการดำเนินการพัฒนาเพื่อสะท้อนผลการการดำเนินการพัฒนา และ 4) ด้านการปรับปรุงแก้ไข นำรายงานผลการพัฒนามาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขแนวทางการดำเนินการพัฒนาในปีต่อไปอย่างต่อเนื่อง
References
จารุพร ตั้งพัฒนกิจ. (2563). อิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษโดยมีแรงจูงใจเป็นตัวแปรคั่นกลางและความวิตกกังวลเป็นตัวแปรกำกับ. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 8(2), 111-126.
ชยาพล ชมชัยยา. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ของผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่ทำงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 12(2).
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารโรงเรียนยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. วารสารคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 1(1), 304-306.
ชายุดา จันทะปิดตา. (2555). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการฟังภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบัวหลวงวิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์. (2557). หลักการบริหารทรัพยากรณ์มนุษย์. ดร.เพชรสำนักพิมพ์.
ณัฏฐิกา บุญรัศมี. (2550). ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. นครสวรรค์พับลิชชิ่ง.
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2538). ทฤษฎีองค์การ(พิมพ์ครั้งที่3). สํานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
ธนวัฒน์ อรุณสว่าง และนรินทร์ สังขรักษา. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. วารสาร Veridan E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(2), 493-505.
นพพร สโรบล. (2553). ภาษาอังกฤษกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” สถาบันภาษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารสถาบันภาษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 5(3), 389 – 403.
นรินทร์ แจ่มจำรัส. (2543). การพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.
นันทวัน วัฒนมงคลสุข, วรพงษ์ คุณเดชอมร, และศิรินาถ บูรณพงษ์. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. Lawarath Social E-Journal, 4(2), 1-16.
บุญเกิด กลมทุกสิ่ง. (2557). การพัฒนาหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 8(2).
ปราณี วิโรจน์วัฒนานนท์. (2547). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม:สำนักงานศาลภาค 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปริทรรศน์ พนัธุบรรยงก์. (2545). TQM ภาคปฏิบัติ : เทคนิคการแก้ปัญหาแบบ "สึยาม่า" (พิมพ์ครั้งที่ 1). สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญี่ปุ่น).
ไพรภ รัตนชูวงศ์. (2564). กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2544). ภาวะผู้นําและการจูงใจ (พิมพ์ครั้งที่ 3). เอสเค บุ๊คเนส.
ลักษณ์พร เข้มขัน และจิติมา วรรณศรี. (2564). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของครูภาษาอังกฤษในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23(4), 298-308.
วีร์ ระวัง. (2558). ศาสตร์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับคนไทยสู่อาเซียน. ภาพพิมพ์.
วีระพล บดีรัฐ. (2543). PDCA วงจรสู่ความสำเร็จ. บริษัท อินโนกราฟฟิกส์.
ศิริ ถีอาสา. (2557). เทคนิคการจัดการคุณภาพแนวใหม่ : แนวคิด หลักการสู่การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา=Benchmarking, balanced scorecard and learn six sigma (พิมพ์ครั้งที่2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ศิลนภา ปัญญาพิม. (2558). แนวทางการพัฒนาความสามารถภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 สู่ประชาคมอาเซียน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สานิตย์ หนูนิล. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 7(2).
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2548). คู่มือหลักสูตรการพัฒนา.
สิริกานต์ วารุณศาสตร์. (2558). ปัญหาและความต้องการในการพูดภาษาอังกฤษในการทำงานเพื่อการสื่อสารของครูชาวไทยในโรงเรียนดาราสมุทรศรีราชาจังหวัดชลบุรี [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุกัญยา แก้วขาวและคณะ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(27).
เสนาะ ติเยาว์. (2543). หลักการบริหาร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Armstrong, M. (2006). A handbook of human resource management practice (10thed.). Cambridge University Press.
Cole and Chan (1987). Teaching Principles and Practices. Prentice Hall.
Jakobovits, Loen A. (1971). Foreign Language Learning: A Psycholinguistic Analysis of the Issues. Newbury House.
Kaewkoon, S. (2018). Modern Organization Management with Modern Management. Mahachula Academic Journal, 5 (Special Edition), 197-208.
Mackay, R. (1980). English for Specific Purpose: A Mexican Case Study. English Teaching Forum, 18(2), 8-12.
Millman, Jason. (1981). Handbook of Teaching Evaluation. Sage.
Mondy, R. Wayne. Robert M. Noe.; & Shane R. Premeaux. (1999). Human resource management.7 th ed. New Jersey: Prentice–Hall International, Lnc: GL-5, GL-8, GL-9.
Stone, R.J. (2006). Managing Human Resource. John Wiley & Sons Australia Ltd.
Savignon, S.J. (1983). Communicative Competence: Theory and Classroom practice. Addison-Wesley.
Wendell, French. (1994). Human Resource Management. 3 rd ed. Boston. Houghton Mifflin.
Yaboonthong, Y. (2021). The Development of an Activity Management Model that Integrates Learning and Work to Enhance Education Administrators for Student’s Field of Study Major in Educational Administration. Chiang Mai University.
Yuenyaw, P. (2019). Academic Leadership of School Administrators Affecting Operations Based onWorld Class Standard School Quality Award Criteria of School under the Secondary Educational Service Area Office 9 [Doctoral Dissertation, Silpakorn University].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารครุศาสตร์ ราชภัฏเชียงใหม่
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสาร TCI อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสําหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต