ศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำกับหลักธรรมาภิบาลในการบริหารการศึกษา
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, หลักธรรมาภิบาล, การบริหารการศึกษาบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้เกี่ยวกับภาวะผู้นำกับหลักธรรมาภิบาลในการบริหารการศึกษา เป็นเรื่องที่สำคัญต่อการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ ซึ่งสรุปได้ว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับภาวะผู้นำ ภาวะผู้นำขึ้นอยู่กับการได้รับการศึกษาในระบบและนอกระบบ ประสบการณ์การเรียนรู้ ตำแหน่งหน้าที่การงาน ส่วนผู้นำทางการบริหารงานการศึกษาจะต้องเป็นผู้นำที่ได้รับการแต่งตั้งให้มาบริหารจัดการองค์การให้บรรลุเป้าหมาย และการที่จะทำให้องค์การบรรลุเป้าหมายได้ ผู้บริหารการศึกษาต้องแสดงภาวะผู้นำ ใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารจัดการ และการบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล จึงจะสามารถทำให้การศึกษาเจริญก้าวหน้าได้อย่างเป็นรูปธรรม
References
กาญจนา สิริวงศาวรรธน์. (2550). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กรุงเทพธุริกจิออนไลน์ 26 กุมภาพันธ์ 2557. ให้ออก ?ศศิธาราปมทุจริตจัดซื้อครุภัณฑ์อาชีวะ?. สิบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2557. จาก http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/education/ 20140226/565438/ html ให้ออกศศิธาราปมทุจริตจัดซื้อครุภัณฑ์อาชีวะ.
กุลรัศมิ์ สิริกรวุฒิพงศ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในเครือสารสาสน์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชัยอนันต์ สมุทรวานิช. (2543). ธรรมาภิบาลการมีส่วนร่วมของประชาชนและกระบวนการทางด้านสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: เดือนตุลาการพิมพ์.
ธีรยุทธ บุญมี. (2541). ธรรมรัฐแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กู้หายนะประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สายธาร.
ประยุทธ ปยุตโต. (พระธรรมปิฎก, 2540). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
ประเวศ วสี. (2540). ภาวะผู้นำ: พยาธิสภาพในสังคมไทยและวิธีแก้ไข. กรุงเทพฯ: พิมพ์ไทย
พงศ์ศรันย์ พลศรีเลิศ. (2555 พฤษภาคม 15). สร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงในองค์กร. [ออนไลน์]. สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2557. สืบค้นจากhttp://phongzahrun.wordpress.com/2012/05/15/สร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลง.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2551). ความหมายของผู้นำ. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2557. จาก http://www.gotoknow. org/posts/201434.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี. (2542). ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542.
เลิศดาว กลิ่นศรีสุข. การบริหารการศึกษา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2557. จาก http://www. gotoknow.org/posts/403387.
ศจี อนันต์นพคุณ. (2542). กลวิธีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ. สงขลา: ชลบุตรกราฟฟิก.
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2545). ภาวะผู้นำของคณบดีในสถาบันราชภัฏ: การแสวงหาและแนวทางการพัฒนา. สกลนคร: สถาบันราชภัฏสกลนคร.
สถาบันวิทยาการเศรษฐกิจและการคลัง. (19 กรกฎาคม 2544). คำคมจากJohn F. Kennedy. [ออนไลน์]. สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2557. สืบค้นจากhttp://www.efa.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id= 341:2011-07-19&catid=50:tuesday&Itemid=152.
สุธีรา สุริยวงศ์. (2553). มนุษย์สัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีจำกัด.
อภิณี ธรรมโน. (2552). วันนี้ท่านเป็นผู้นำที่ดีหรือยัง?. ในReader?s Digest, ฉบับเดือนมีนาคม 2009 คอลัมน์ Quotes. สืบค้นวันที่ 29 กันยายน2556. สืบค้นจากhttp://www.oknation.net/blog/thaitraining/ 2009/04/02/entry-2.