ความสามารถในการผลิตแบบลีน องค์การแห่งการเรียนรู้ และการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานของ ธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ในกรุงเทพมหานคร หลังยุคโควิด 19

ผู้แต่ง

  • สมพร ปานยินดี -
  • พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก
  • ประภัสรา คงสาธิตพร
  • จันจิราภรณ์ ปานยินดี

คำสำคัญ:

lean capability, learning organization, entrepreneurial orientation, firm performance of furniture business, ความสามารถในการผลิตแบบลีน, องค์การแห่งการเรียนรู้, การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ, ผลดำเนินงานของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถในการผลิตแบบลีน องค์การแห่งการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ ด้านการมีนวัตกรรม ด้านการทำงานเชิงรุก ด้านความกล้าเสี่ยง และผลดำเนินงานของธุรกิจ 2) เพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตแบบลีน องค์การแห่งการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการด้านการมีนวัตกรรม ด้านการทำงานเชิงรุก ด้านความกล้าเสี่ยง ที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ในกรุงเทพมหานคร ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบ Enter  ผลวิจัยพบว่า 1) ผลดำเนินงานของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 กับ องค์การแห่งการเรียนรู้ ความสามารถในการผลิตแบบลีน การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการด้านความกล้าเสี่ยง ด้านการมีนวัตกรรม และด้านการทำงานเชิงรุก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.703  0.6810.6810.619 และ 0.581 ตามลำดับ 2) การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการด้านความกล้าเสี่ยง องค์การแห่งการเรียนรู้ และความสามารถในการผลิตแบบลีน สามารถพยากรณ์ผลดำเนินงานของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยสามารถพยากรณ์ผลดำเนินงานของธุรกิจได้ร้อยละ 57.40

References

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2565). สินค้าเฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน. สืบค้นวันที่ 1 กันยายน 2565 จาก https://www.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view. php?filename =contents_attach/ 669435/669435.pdf&title=669435 &cate=811&d=0

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2547). หลักสถิติ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เกวลี แก่นจันดา. (2565). การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการและการมุ่งเน้นการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถทางนวัตกรรมกับความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(1), มกราคม – เมษายน, 71-85.

จันจิราภรณ์ ปานยินดี. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ชญานุตน์ ภูนาเถร, ชลลดา ทองคำ และสุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์. (ม.ป.ป.). การผลิตแบบลีนในโรงงานอุตสาหกรรม (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:http://sc2.kku.ac.th/stat/statweb /images/Eventpic/ 60/Seminar/01_16_.pdf [2563, 2 มกราคม].

นงลักษณ์ นิมิตรภูวดล. (2557). การลดความสูญเปลำในกระบวนการคลังสินค๎าด๎วยแนวคิดลีน กรณีศึกษา : อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์. วารสารการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง, 7(2), 65-78.

นิลุบล วิโรจน์ผดุงพงศ์. (2562). การประเมินผลระบบการผลิตแบบลีนโลจิสติกส์มาใช้ในองค์กร :โรงงานอุตสาหกรรมแป้งและน้ำตาล จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 5(2), 39-54.

รัชญ์ธารี ประกิ่ง. (2561). องค์การแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สิริศักดิ์ พลสิมมา และ เกศรา สุกเพชร. 2020. ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการต่อผลของการดำเนินกิจการของธุรกิจการให้บริการเพื่อการท่องเที่ยวในประเทศไทย. Dusit Thani College Journal, 14(3) , 146-161.

Aaker, D.A., V. Kumar, and G.S. Day. (2007). Marketing research. New York: John Wiley & Son.

Akhtar, C. S., & Arif, A. (2011). Impact of organizational learning on organizational performance: Study. International Journal of Academic Research, 3(5), 327-331.

Al-Dhaafri, H.S. and Al-Swidi, A. (2016), "The impact of Total Quality Management and entrepreneurial orientation on organizational performance", International Journal of Quality & Reliability Management, 33(5), https://doi.org/10.1108/IJQRM-03-2014-0034

Altinay, L., Madanoglu, M., De Vita, G., Arasli, H., & Ekinci, Y. (2016). The interface between organizational learning capability, entrepreneurial orientation, and SME growth. Journal of Small Business Management, 54(3), 871-891.

Antony, J., Agus, A., & Hajinoor, M. S. (2012). Lean production supply chain management as driver towards enhancing product quality and business performance. International Journal of Quality & Reliability Management, 29(1), 92-121

Balocco, R., Cavallo, A., Ghezzi, A. and Berbegal-Mirabent, J. (2019), "Lean business models change process in digital entrepreneurship", Business Process Management Journal, 25 (7),1520-1542.

Cho, Y.H. and Lee, J.-H. (2018), "Entrepreneurial orientation, entrepreneurial education and performance", Asia Pacific Journal of Innovation and Entrepreneurship, 12(2), 124-134.

Fullerton, R. R., & Wempe, W. F. (2009). Lean manufacturing, non‐financial performance measures, and financial performance. International Journal of Operations & Production Management, 29(9), 214-240

Hadid, W., & Mansouri, S. A. (2014). The lean-performance relationship in services: a theoretical model. International Journal of Operations & Production Management, 34(6), 750-785.

Hair, Joseph F., et al. (2006). Multivariate data analysis. Vol 6. Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Horng, J. S., Liu, C. H., Chou, S. F., & Hu, D. C. (2021). Entrepreneurial Orientation, Organizational Learning, and Performance in Hospitality and Tourism Start-ups: The ESCAPE Perspective. International Journal of Hospitality & Tourism Administration, 1-23.

Jirawaree, R. and Chutima, P. (2011). Lean apartment management system. Master of Engineering, Engineering Management. Chulalongkorn University.

Johnson-Conley, Christina D. (2009). Using Community-based Participatory Research in the Development of a Consumer-driven Cultural Competency Tool. Ph.D. Dissertation, University of Washington Graduate School.

Kreiser, P. M., and Davis, J. (2010). Entrepreneurial Orientation and Firm Performance: The Unique Impact of Innovativeness, Proactiveness, and Risk-taking. Journal of Small Business and Entrepreneurship, 23(1), 39-51.

Lee, C. F., Lee, J. C., & Lee, A. C. (2000). Statistics for business and financial economics (Vol. 1, p. 712). Singapore: World Scientific.

Liao, S. H., & Wu, C. C. (2009). The relationship among knowledge management, organizational learning, and organizational performance. International journal of business and management, 4(4), 64-76.

Lumpkin, G.T. and G.G. Dess, 1996. Clarifying the entrepreneurial orientation construct and linking it to performance. Acad. Manage. Rev., 21(1), 135-172.

Marquardt, M. J. (2002). Building the Learning Organization: Mastering the 5 Elements for Corporate Learning. LON: Hachette UK.

Mithas, S, Ramasubbu, N, & Sambamurthy, V. (2011). How Information Management Capability Influences Firm Performance. MIS Quarterly, 35(1), 237-256.

Platzek, B. P., Pretorius, L., & Winzker, D. H. (2014). The vital entrepreneurial learning organization: A corporate mindset for entrepreneurial change management. International Journal of Innovation and Technology Management, 11(06), 1450044.

Real, J. C., Roldán, J. L., & Leal, A. (2014). From entrepreneurial orientation and learning orientation to business performance: analysing the mediating role of organizational learning and the moderating effects of organizational size. British Journal of Management, 25(2), 186-208.

Rezaei, R., & Amin Fanak, D. (2019). Mediation effect of organizational learning on the relationship between entrepreneurial orientation and organizational performance in the agriculture Jihad Organization of West Azerbaijan Province, Iran. Journal of Agricultural Science and Technology, 21(1), 37-50.

Sansook, J. (2010). Strategic customer relationship management capabilities and market performance: An empirical study of private hospitals in Thailand. Ph.D. Dissertation (Management). Mahasarakham University.

Senge, P. M. (1999). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. NY: Doubleday.

Tarabishy A, Solomon G, Fernald, L. and Saghkin M. (2005). The entrepreneurial leader’s impact on the organization’s performance in dynamic markets. J Priv Equity, 8(4), 20–29.

Vasconcelos, V. N. D. S. A., Silveira, A., & Bizarrias, F. S. (2016). The relations between entrepreneurial orientation, organizational learning and organizational performance of small enterprises. Intern. Journal of Profess. Bus. Review, 1(2), 1-14.

Walter, A., Auer, M. and Ritter T. (2006). The impact of network capabilities and entrepreneurial orientation on university spin-off performance. J Bus Ventur, 21(4), 541–567.

Wiklund, J., and Shepherd, D. (2003). Knowledge-based resources, entrepreneurial orientation, and the performance of small and medium sized business. Strateg Manag J, 24(13), 1307–1314.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3 rd Ed. New York: Harper and Row Publisher.

Zhu, C., Liu, A., & Chen, G. (2018). High performance work systems and corporate performance: the influence of entrepreneurial orientation and organizational learning. Frontiers of Business Research in China, 12(4), 1-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-14