Marketing Strategiesand Selling Behaviors of Thai Herbal Products through Online Media during the Covid-19 Situation in the Bangkok Metropolitan Area
Marketing Strategiesand Selling Behaviors of Thai Herbal Products through Online Media during the Covid-19 Situation in the Bangkok Metropolitan Area
Keywords:
marketing strategy, sales behaviorAbstract
The purpose of this research was to study the marketing strategies and selling behaviors of Thai herbal products via online media during the COVID-19 situation in the Bangkok metropolitan area from 400 retail shop operators selling Thai herbs via online media.The data collection period of this research was from December 1, 2021 toJanuary 30, 2022. The instrument used in this research was a questionnaire. The statistics used in this research were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results of the research concluded that most of the respondents were female, between 21 and 35 years old with monthly income from sales of 10,001-20,000 baht per month. For selling behavior of Thai herbs and marketing communications, most used Facebook to sell products and promote products through channels, i.e.,Facebook (68 percent), Instagram (10 percent), and other channels (22 percent). Sellers had the most access to product ads through Facebook, making videos, and posting messages to educate, track, and sell products, making content and making video media to sell products. For product strategy, the sellers' main strategy was product safety and official sale approval. For cost-optimized pricing strategy and distribution channel strategy, the sellers used multiple channels that made it possible to reach many customers and secure payment arrangements. For marketing promotion strategy, the sellers used online media such as Facebook or Instagram that can quickly respond to customers and made videos and postedmessages to educate followers and sell products. The sellers participated in promotional activities in platforms such as Shopee and Lazada to boost sales.
References
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง สาธารณสุข. (2560). แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทยไทย ฉบับที่1 พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นจาก https://www.dtam.moph.go.th/images/download/ dl0021/MasterPlan-Thaiherb.pdf
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2564). สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวนผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิต สืบค้นจากhttps://m.facebook.com/pages/category/Government-Website/informationcovid19/posts/
คอตเลอร์ ฟิลลิป. (2546). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์. จัดหวัดกรุงเทพมหานคร(บริหารธุรกิจ). กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเทคโนโลยีวิบูลย์
จิตตินันท์ วรรณศุภผล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครมหานคร (ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ชิษณุพงศ์ สุกก่า. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางสื่อออนไลน์ของผู้บริโภคใน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม (ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ฑิตาพร รุ่งสถาพร. (2563). พฤติกรรมผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์ในภาวะวิกฤตโควิด -19 ในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมลฑล และพิษณุโลก. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์). จังหวัดกรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ณัฐกานต์ กองแก้ม. (2559). พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ณัฐนันท์ เหล่าอยู่คง. (2555). การโฆษณาที่สร้างสรรค์ สามารถดึงดูดความสนใจและสร้างความน่าเชื่อถือได้สูง. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการตลาด).กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ยุพเรศ พิริยพลพงศ์. (2558). ปัจจัยด้านช่องทางจัดจำหน่ายมีความสำคัญต่อผู้ซื้อ เอกสารประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2558 (คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ). สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.ปทุมธานี:มหาวิทยาลัยปทุมธานี
วรเศรษฐ์ สุพรรณพงศ์และ ตรีเนตร ตันตระกลู. (2563). อิทธิพลของตลาดพานิชอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2562, สืบค้นจาก https://www.mdes.go.th/home
ศิริวรรณ พันธุ และ ชาคริต ศรีทอง. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อซ้ำ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเสริมอาหารผ่านออนไลน์. จังหวัดปทุมธานี. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารธุรกิจ). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การมุ่งเน้นความแตกต่าง ความแปลกใหม่จากตลาดเดิมที่มีอยู่. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2556). สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร. สืบค้นจาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/displayData
อำพล นววงศ์เสถียร. (2557). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้าออนไลน์ในกรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/20161
Marketeer. (2021). การเติบโตของตลาดอีคอมเมิร์ซไทยที่พุ่งแรงกว่าที่เคยคาดการณ์มาจากโควิด-19 ที่ผลักดันให้คนไทยหันมาช้อปออนไลน์จนกลายเป็นความคุ้นเคย. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2564,สืบค้นจากhttps://marketeeronline.co/archives/207221
TWF Agency. (2563). จำนวนผู้ใช้งาน social media ในประเทศไทย. สืบค้นจาก www.twfdigital.com/blog/2021/02/facebook-instagram-youtube-twitter-users-thailand-2021/
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Siam University

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน