ผลสัมฤทธิ์ทางการตลาดของผู้ให้บริการตลาดท่ามหาราช

ผู้แต่ง

  • กฤษฎา พวงทับทิม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการตลาด, ท่ามหาราช

บทคัดย่อ

งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ และศึกษาส่วนประสมทาง การตลาด ที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการตลาด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่มาท่องเที่ยว บริเวณท่ามหาราช กรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน โดยการสุ่ม เลือก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใช้คือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลข คณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ วิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว เปรียบเทียบความ แตกต่างโดยเปรียบเทียบรายคู่ และการวิเคราะห์สถิติพหุคูณแบบถดถอย ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วน ใหญ่เป็ น ผู้หญิง (63.25%) มีอายุ 20-24 ปี(42.8%) มีสถานภาพโสด (83.8%) มีระดับการศึกษา ปริญญา ตรี (49.3%) มีอาชีพ นักเรียนนักศึกษา (54.8%) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตํ่ากว่าหรือเทียบเท่า 10,000 บาท (33.8%) ส่วนความคิดเห็นด้านส่วนประสมทางการตลาดในงานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้ 7P’s โดยตัวแปรที่มี ผลมากที่สุดคือ ด้านลักษณะทางกายภาพ (X-bar 4.8963) รองลงมาคือ ด้านสถานที่จัดจําหน่าย (X-bar 4.4463) ด้านกระบวนการ (X-bar 4.3858) ด้านผลิตภัณฑ์ (X-bar 4.2735) ด้านราคา (X-bar 4.0013) ด้านบุคลากร (X-bar 3.9963) และ ด้านส่งเสริมการตลาด (X-bar 3.7619) ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีรายได้ เฉลี่ยต่อเดือนมีระดับความคิดเห็นต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการตลาดต่างกัน โดยผู้บริโภคที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท แตกต่างเป็นรายคู่กับผู้บริโภค ผู้บริโภคที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05ในรายคู่อื่นไม่พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผลวิเคราะห์ด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการตลาดของผู้ให้บริการ ตลาดท่ามหาราช โดยตัวแปรที่มีผลมากที่สุดคือ ด้านช่องทางการจัดจําหน่าย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05

References

กิติยา มโนธรรมรักษา. (2559). การศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจมีผลต่อพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาว ไทย กรณีศึกษาตลาดนํ้าอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

คณาวดีแก้วโกศล. (2550). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อสินค้า “สหฟาร์มซูปเปอร์มาร์เก็ต” ถนนนวมินทร์ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

จิราพร วรเวชวิทยา. (2559). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการ ห้องอาหารครัวเมืองราช. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัญญา เตชมหามงคล. (2558). ความพึงพอใจของลู กค้าที่มาใช้บริการร้านกาแฟขนาดเล็กในอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการ บริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณัฐพงศ์ จันทวาส และคณะ. (2554). ปัจจัยทางการตลาดของผู้บริโภคที่มาใช้บริการศู นย์การค้า คอมมู นิตี้มอลล์ในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม.

นาวิน เกตุรวม. (2559). การศึกษาแรงจูงใจ และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางไป ท่องเที่ยวประเทศเมียนมาร์. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ อุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นิชาภัทร อันนันนับ. (2560). คุณภาพการบริการและส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความ พึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านอาหารอิสลามในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

พงศ์ศิริ แซ่ตัน. (2558). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู ้บริโภคต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการ: กรณีศึกษา ร้านไอศกรีม Swensen’s สาขา Big C สตู ล. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

พัชรี สกุลรัตนศักดิ์ และชมภูวิวัฒน์วิกัย. (2555). ความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้าในตลาดสดพระราม 5 จังหวัดนนทบุรี. รายงานผลการวิจัย, วิทยาลัยราชพฤกษ์.

พิสมัย หาญมงคลพิพัฒน์. (2557). ความพึงพอใจของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยเว็บไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 6, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

วิบูลย์ มิ่งมงคล. (2550). การใช้บริการของรถโดยสารไมโครบัสในย่านธุรกิจสีลม. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

วิษณุ ศศิธรวัน และ เพ็ญจิรา คันธวงศ์. (2556). ปัจจัยความสอดคล้องของภาพลักษณ์ของตนและปัจจัย ความสอดคล้องของหน้าที่การใช้งานที่มีผลต่อทัศนคติของผู้บริโภคและส่งผลต่อความตั้งใจใน การกลับมาซื้อกาแฟซํ้า กรณีศึกษาของผู้บริโภคกาแฟในเขตสีลม กรุงเทพมหานคร. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการประจําปี 2556: พลวัตการศึกษาสร้างสรรค์เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต.

วิไลวรรณ บุญวิเซ็นต์. (2556). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อส่วนประสมการตลาดบริการของร้าน ริว ชาบู ชาบู สาขาสยามสแควร์. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสําหรับนักบริหาร, วิทยาลัย บัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

วุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2552). การวิจัยการตลาดและระบบสารสนเทศทางการตลาด. กรุงเทพฯ: สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).

ศิริรัตน์ สะหุนิล. (2556). การศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้ า บีทีเอส. สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2543). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ไดมอน อิน บิสสิเน็ต เวิร์ล.

สมิทธ์ ลีลาอมร. (2557). การรับรู้คุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและความจงรักภักดีต่อ ร้านอาหารรถเข็นริมทางเท้าย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-18