อิทธิพลของพฤติกรรมผู้บริโภค คุณค่าที่ส่งมอบ และการตลาดบนโลกดิจิทัล ที่มีผลต่อความเชื่อมั่นออนไลน์ ของผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย: กรณีศึกษา ธุรกิจสมุนไพร

ผู้แต่ง

  • ลดาพร พิทักษ์ สาขานวัตกรรมการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • บัณฑิต ผังนิรันดร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ธนพล ก่อฐานะ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การตลาดดิจิทัล, พฤติกรรมของผู้บริโภค, การไว้วางใจ, คุณค่าผลิตภัณฑ์

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของสื่อการตลาด ทําให้ความ ต้องการของตลาดสู่ยุคที่เรียกว่า การตลาดบนโลกดิจิทัล แนวโน้มที่กําลังเติบโตมากขึ้นของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม จําเป็นต้องปรับตัวขยายช่องการจําหน่ายให้เหมาะกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผู้บริโภคเพื่อตอบสนองต่อรูปแบบของการตลาดบนโลกดิจิทัล รวมไปถึงอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ซึ่งจําเป็นต้องมีการสํารวจศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภค และศึกษาด้านความเชื่อมั่นในธุรกิจออนไลน์ วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้มี 2 ประการ คือ 1) ศึกษาระดับของความเชื่อมั่นออนไลน์ใน การตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สมุนไพรออนไลน์ 2) ศึกษาอิทธิพลพฤติกรรมผู้บริโภค คุณค่า การส่งมอบต่อผู้บริโภค และการทําการตลาดบนโลกดิจิทัล ที่มีผลต่อความเชื่อมั่นออนไลน์ ในการตัดสินใจ ซื้อสินค้าออนไลน์ผลิตภัณฑ์สมุนไพร

References

โชคชัย รุ่งวิวัฒน์ศิลป์ . (2551). ศึกษาการเปรียบเทียบคุณค่าตราสินค้าที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของ ลูกค้าที่ใช้บริการ ของธนาคารไทยพาณิชย์และ ธนาคารกสิกรไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรพรรณ ตาลประเสริฐ. (2559). อิทธิพลของการตลาดแบบดิจิทัลส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค กลุ่มธุรกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. พระครูวิสิฐ

พัฒนาภรณ์ (บัวศรี). (2557). ปัจจัยในการเลือกศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์, 9(1), 43-50.

ศิริเพ็ญ มโนศิลปกร. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าและบริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้บริโภคในจังหวัดขอนแก่น. การศึกษาอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุภมาส อังศุโชติ และคณะ. (2552). สถิติวิเคราะห์สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ และพฤติกรรม ศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่งคงการพิมพ์.

เสรี วงษ์มณฑา. (2547). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด Integrated Marketing Communication. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จํากัด.

อธิ ธรรมาชีวะ. (2555). อิทธิพลของการทําการตลาดผ่านมือถือด้วยสื่อสังคมออนไลน์ต่อพฤติกรรม ผู ้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิรติ มณีเพ็ชรเจริญ. (2556). พฤติกรรมการบริโภครองเท้าแฟชั่นสตรีชาวไทยและมุมมองของ ผู้ประกอบการร้านรองเท้าแฟชั่นสตรีแบรนด์ไทย. การค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัญฑิต สาขา การบริหารการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรุณ ศรีศิริวงชัย. (2556). บทบาทของสื่อดิจิทัลในกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของตราสินค้าหรูหราใน ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Aaker, D.A. (1996). Measuring Brand Equity Across Products and Markets. California Management Review, 38(3), 102-120.

Anselmsson, J., Johansson, U., and Persson, N. (2007). Understanding Price Premium for Grocery Products: A Conceptual Model of Customer-based Brand Equity. Journal of Product and Brand Management, 16(6), 401-414.

Arslan, F.M. and Altuna, O.K. (2010).The Effect of Brand Extensions on Product Brand Image. Journal of Product and Brand Management, 19(3), 170-180.

Auken, B. (2002). The Brand Management. London: Kogan Page.

Campbell, M.C. (2002). Building Brand Equity. International Journal of Medical Marketing, 2(3), 208-218.

Gonzalez, A.M. and Bello, L. (2000). The Construct Lifestyle in Market Segmentation, the Behaviour of Tourist Consumers. European Journal of Marketing, 36(1/2), 51-85.

Hsiang-Ming, L., Chi, L.C, and Chen, W.C. (2011). Brand Image Strategy Affects Brand Equity after M&A. European Journal of Marketing, 45(7/8), 1091-1111.

Kerin, R. and Peterson, R. (1998). Strategic Marketing Problems (8th ed.). Upper Saddle River: Prentice-Hall.

Kitchen, P.J., Schultz, D., Kim, I., Han, D. and Li, I. (2004). Will Agencies Ever Get (or Understand) IMC? European Journal of Marketing, 38(11/12), 1417-1436.

Kotler, P. and Armstrong, G. (2012). Principles of Marketing (14th ed.). New Jersey: PrenticeHall.

Kotler, P., Kartajaya, H., and Setiawan, I. (2010). Marketing 3.0: From Products to Customers to the Human Spirit. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

Kotler, P. and Keller, K. (2009). Marketing Management. New Jersey: Prentice Hall.

Kunal, S. and Boonghee, Y. (2010). Interactions Between Price and Price Deal. Journal of Product & Brand Management,19(2),143-152.

Mitki, Y. and Herstein, R. (2011). From Crisis to Success: Three Case Studies in Organizational Learning.Learning Organization, 18(6),454-467.

Narumon, K. and Gerard, T. (2010). Service Brand Equity and Employee Brand Commitment. Journal of Services Marketing,24(5),378-388.

Stokes, R. (2011). eMarketing: The Essential Guide to Digital Marketing (4th ed.). Philadelphia: Quirk

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-18