กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างของการให้บริการนําเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบาง: กรณีศึกษาบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จํากัด

ผู้แต่ง

  • ณัฐนุช วณิชย์กุล คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง, การนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรม, ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสร้างความแตกต่างของการให้บริการนำเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบางของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด และ 2) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวต่อการให้บริการนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบางของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่บริษัทจำนวน 5 คน และแบบสอบถามความพึงพอใจจาก นักท่องเที่ยวที่ใช้บริการนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบางของบริษัท จำนวน 32 คน

ผลการวิจัย พบว่า 1) บริษัทนำกลยุทธ์การสร้างความแตกต่างมาใช้ในการให้บริการนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบาง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านรูปแบบบริการที่นำเสนอ ด้านคุณภาพของบริการ ด้านการให้บริการเสริม และด้านจิตวิทยา 2) นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อการให้บริการนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวมที่ระดับค่อนข้างสูง (Mean = 4.25, S.D. = 0.58) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจด้านการให้บริการเสริมในระดับสูงที่สุด (Mean = 4.68, S.D. = 0.45) รองลงมา คือ ด้านจิตวิทยา (Mean = 4.51, S.D. = 0.56) ด้านคุณภาพ (Mean = 4.11, S.D. = 0.68) และ ด้านรูปแบบบริการที่นำเสนอ (Mean = 4.06, S.D. = 0.69)

References

ดารณี สังข์เจริญ. (2552). บุคคลที่มีชื่อเสียงในฐานะเป็นคุณค่าข่าวเพื่อเผยแพร่กิจกรรมการ ประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดของเครื่องสำอาง. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ธีรารัตน์ สังขวาสี. (2550). กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. นนทบุรี: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นงลักษณ์ จันทาภากุล และนรินทร์ สังข์รักษา. (2556). การศึกษาศักยภาพในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชุมชนบ้านหัวเขาจีนจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยบริการ, 24(2), 143-156.

นิตยา สุภาภรณ์. (2550). กลยุทธ์การจัดการธุรกิจโรงแรมในเกาะสมุย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัทเพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด.

ประไพ แสงประสิทธิ์ และคณะ. (2554). กลยุทธ์การตลาดโครงการบ้านเดี่ยวระดับบนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2556, จาก http://www.berac.org/BERAC/BERAC%202/00%20content.pdf

ปวีณา โทนแก้ว. (2554). การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชาวเขาเผ่าลีซอ จังหวัดเพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

ปฏิภาณ บัณฑุรัตน์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในด้านการให้บริการของโรงแรมอมารีในเขต กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร

พรทิพย์ ไชยชิต. (2552). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการบริษัท ศรีสวัสดิ์ทราเวล แอนด์ทัวร์. รายงานการค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

พัฒนไชย อินทรโยธา. (2551). ความพึงพอใจของลูกคที่มารับบริการในโรงแรมเจดับบลิวแมริออท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ภัสสรนันทร์ อเนกธรรมกุล. (2553). ผลกระทบจากการใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง (Celebrity) ที่เป็นผู้นำเสนอ สินค้าหลากหลายตราสินค้าในงานโฆษณา. รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาณุพงศ์ สิทธิวุฒิ. (2554). การพัฒนาเชิงอนุรักษ์พื้นที่เมืองเก่า เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มณีวรรณ ชาตวนิช. (2555). การจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในชุมชน. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 13(24), 16-32.

ดารณี สังข์เจริญ. (2552). บุคคลที่มีชื่อเสียงในฐานะเป็นคุณค่าข่าวเพื่อเผยแพร่กิจกรรมการ ประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดของเครื่องสำอาง. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ธีรารัตน์ สังขวาสี. (2550). กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. นนทบุรี: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นงลักษณ์ จันทาภากุล และนรินทร์ สังข์รักษา. (2556). การศึกษาศักยภาพในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชุมชนบ้านหัวเขาจีนจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยบริการ, 24(2), 143-156.

นิตยา สุภาภรณ์. (2550). กลยุทธ์การจัดการธุรกิจโรงแรมในเกาะสมุย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัทเพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด.

ประไพ แสงประสิทธิ์และคณะ. (2554). กลยุทธ์การตลาดโครงการบ้านเดี่ยวระดับบนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2556, จาก http://www.berac.org/BERAC/BERAC%202/00%20content.pdf

ปวีณา โทนแก้ว. (2554). การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชาวเขาเผ่าลีซอ จังหวัดเพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

ปฏิภาณ บัณฑุรัตน์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในด้านการให้บริการของโรงแรมอมารีในเขต กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พรทิพย์ ไชยชิต. (2552). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที้ใช้บริการบริษัท ศรีสวัสดิ์ทราเวล แอนด์ทัวร์. รายงานการค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

พัฒนไชย อินทรโยธา. (2551). ความพึงพอใจของลูกค้าที่มารับบริการในโรงแรมเจดับบลิวแมริออท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ภัสสรนันทร์ อเนกธรรมกุล. (2553). ผลกระทบจากการใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง (Celebrity) ที่เป็นผู้นำเสนอ สินค้าหลากหลายตราสินค้าในงานโฆษณา. รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาณุพงศ์ สิทธิวุฒิ. (2554). การพัฒนาเชิงอนุรักษ์พื้นที่เมืองเก่า เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มณีวรรณ ชาตวนิช. (2555). การจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในชุมชน. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 13(24), 16-32.

มนทกานดิ ธานิยจันทร์. (2549). การศึกษาการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงในนิตยสารวาไรตี้ที่ขายดี ของเมืองไทย. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ยลรวี สิทธิชัย. (2552). Celebrity Endorsement ขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2557, จาก http://www.etatjournal.com/upload/295/04_Celebrity_endorsement.pdf

เรณุมาศ กุละศิริมา และคณะ. (2556). แผนเชิงกลยุทธ์ในการสร้างคุณค่าตราให้แข็งแกร่งในการ ประกอบการร้านอาหาร/ภัตตาคารเพื่อสุขภาพส าหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติใน กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

วิไลลักษณ์ น้อยพยัคฆ์ และเมธินี ทองใหญ่. (2554). นวัตกรรมด้านการตลาดการท่องเที่ยว: โครงการ Nichkhun’s 72 hours Amazing Thailand. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2557, จาก http://www.etatjournal.com/web/menu-read-web-etatjournal/menu-2011/menu-2011-julsep/344-32554-nichkhuns-72-hours-amazing-thailand

วีระพล ทองมา และคณะ. (2554). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนของชุมชนชาวจีนใน พื้นที่ลุ่มน้ำแม่งอน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ศรีกัญญา มงคลศิริ. (2547). Celebrity Marketing. กรุงเทพฯ: BrandAge. ศิริฮามสุโพธิ์. (2543). สังคมวิทยาการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). กลยุทธ์การตลาดและการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยมุ่งที่ตลาด. กรุงเทพฯ: Diamond in Business World.

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. (2553). หลวงพระบางเมืองมรดกโลก ราชธานีแห่งความทรงจ าและพื้นที่พิธีกรรมใน กระแสโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สายธาร.

สกุลพงษ์ พงษ์พิจิตร. (2553). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์วัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย ของอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์. รายงานการค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุพาดา สิริกุตตา. (2555). กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กรธุรกิจ: กรณีศึกษา ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมภาคกลางตอนบน. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 34(3), 428-439.

อรุณี พงศ์สมบัติสิริ. (2549). การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระหว่างบริษัทที่ใช้กลยุทธ์ความเป็นผู้นำด้าน ต้นทุนกับบริษัทที่ใช้

กลยุทธ์สร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

Applegate, L.M., Piccoli, G., and Dev, C. (2008). Case Study: Hilton Hotels: Brand Differentiation through Customer Relationship Management. Retrieved March 1, 2014, from http://faculty.mu.edu.sa/public/uploads/1361962401.026customer%20relationship95.pdf

Armstrong, G. and Kotler, P. (2012). Marketing: An Introduction. (หลักการตลาด). แปลและเรียบ เรียง โดย นันทสารีสุขโต และคณะ. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2555.

Becerra, M., Santaló, J., and Silva, R. (2013). Being Better VS Being Different: Differentiation, Competition, and Pricing Strategies in the Spanish Hotel Industry. Tourism Management, 34, 71-79.

Dyson, A. and Turco, D. (1998). The State of Celebrity Endorsement in Sport. Retrieved March 1, 2014, from http://fulltext.ausport.gov.au/fulltext/1998/cjsm/v2n1/dyson.htm

Fisher, R.J. (1991). Durable Differentiation Strategies for Services. Journal of Services Marketing, 5(1), 19-28.

Hollensen, S. and Schimmelpfennig, C. (2013). Selection of Celebrity Endorsers: A Case Approach to Developing an Endorser Selection Process Model. Marketing Intelligence and Planning, 31(1), 88-102.

Klaus, N. (2008). Celebrity Endorsements: An Examination of Gender and Consumers’ Attitudes. American Journal of Business, 23(2),53-61.

Kotler, P. and Keller, K.L. (2012). Marketing Management (14th ed.). Harlow: Pearson Education. Ricci, O. (2011). Celebrity-Spotting: A New Dynamic in Italian Tourism. World Wide Hospitality and Tourism Themes, 3(2),117-126.

Roy, S., Jain, V. and Rana, P. (2013). The Moderating Role of Consumer Personality and Source Credibility in Celebrity Endorsements. Asia-Pacific Journal of Business Administration, 5(1), 72- 88.

Tantiseneepong, N., Gorton, M., and White, J. (2012). Evaluating Responses to Celebrity Endorsements Using Projective Techniques. Qualitative Market Research: An International Journal, 15(1), 57-69.

Tourism Development Department, Ministry of Information, Culture and Tourism. (2013). 2013 Statistical Report on Tourism in Laos. Retrieved March 1, 2014, from http://www.tourismlaos.org/files/files/2013%20Statistical%20Report%20on%20Tourism% 20in%20English.pdf

UNESCO World Heritage Center. (2004). The Criteria for Selection. Retrieved March 1, 2014, from http://whc.unesco.org/en/criteria/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-27