วิสัยทัศน์ซาอุดีอาระเบีย 2030: โอกาสและความท้าทายของตลาดแรงงานไทย
คำสำคัญ:
วิสัยทัศน์ซาอุดีอาระเบีย 2030, โอกาส, ความท้าทาย, ตลาดแรงงานไทยบทคัดย่อ
การปฏิรูปประเทศครั้งประวัติศาสตร์ตามวิสัยทัศน์ซาอุดีอาระเบีย 2030 อาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ซาอุดีอาระเบียกลับมาฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตสู่ระดับปกติอย่างสมบูรณ์กับไทยหลังปมร้าวนานกว่า 30 ปี ความมุ่งมั่นอันสูงสุดเพื่อลดการพึ่งพารายได้หลักจากน้ำมันและสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจทำให้ซาอุดีอาระเบียต้องการแรงงานต่างชาติหลายล้านคนในโครงการพัฒนาต่างๆ การเยือนซาอุดีอาระเบียอย่างเป็นทางการของนายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำเชิญของเจ้าชายมุฮัมมัด บิน ซัลมานแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียในวันที่ 25-26 มกราคม พ.ศ. 2565 นำมาซึ่งโอกาสในการสร้างความร่วมมือและการพัฒนาร่วมกันในหลายด้านระหว่างสองประเทศ และหนึ่งในนั้นคือข้อตกลงความร่วมมือด้านแรงงาน การกลับมาสร้างความสัมพันธ์ด้านแรงงานระหว่างประเทศนับเป็นโอกาสอันสดใสของแรงงานไทยในการกลับเข้าไปทำงานในซาอุดีอาระเบียอีกครั้ง แต่ในขณะเดียวกันก็อาจมีความท้าทายต่างๆ ที่ต้องรับมือ ดังนั้นการจัดส่งแรงงานไทยไปซาอุดีอาระเบียจะประสบความสำเร็จเพียงใดขึ้นอยู่กับความมุ่งมั่นอย่างจริงจังทั้งระดับภาครัฐและระดับบุคคล
References
กรมการจัดหางาน. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารการจัดส่งคนหางานไปทำงานในต่างประเทศ พ.ศ. 2560-2564.สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2565,จากhttps://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/overseas_th/d17d347e6d37f277e6a5a9982f19d879.pdf
กระทรวงการต่างประเทศ. (2565, 26 มกราคม). สรุปการแถลงข่าวประจำสัปดาห์ วันพุธที่ 26 มกราคม 2565 เวลา 11.00 น. ทาง Facebook Live กระทรวงการต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://www.mfa.go.th/th/content/press-briefing-26-jan-22?cate=5d5bcb4e15e39c306000683d
กิริยา กุลกลการ, อนันต์ ภาวสุทธิไพศิฐ และศุทธาภา นพวิญญูวงศ์. (2563). โครงการวิจัย เรื่อง ผลกระทบของ COVID-19 ต่อการส่งเสริมการมีงานทำ. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กรุงเทพธุรกิจ. (2565, 19 กุมภาพันธ์). อยากไปขุดทองซาอุดีฯ เช็คที่นี่! "ศูนย์ทดสอบฝีมือ"เตรียมพร้อมก่อนไปทำงาน. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/989079
กรุงเทพธุรกิจ. (2565, 30 มกราคม). ผลจัดอันดับ "IMD" ด้านการศึกษา ปี 64 ไทย ร่วง 1 อันดับ. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/985467
กองบริหารแรงงานไทยในต่างประเทศ. (2565). ประมาณการรายได้ที่คนหางานไทยในต่างประเทศส่งกลับ โดยผ่านระบบธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำปี 2560-2564. สถิติการเดินทางไปทำงานต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://www.doe.go.th/prd/overseas/statistic/param/site/149/cat/81/ sub/0/pull/category/view/list-label
ข่าวสดออนไลน์. (2565, 28 มกราคม). อดีตแรงงานไทย เล่าความหลัง ไปซาอุฯ รายได้ดี ย้ำกม.เข้ม มีโทษหนัก. ข่าวสดออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_6857683
ชาญ จุลมนต์, 2552. ยุทธศาสตร์ทีมประเทศไทยประจำซาอุดีอาระเบียในการแสวงหาผลประโยชน์ด้านการค้าและแรงงาน. (รายงานการศึกษาส่วนบุคคล). กรุงเทพฯ: กระทรวงการต่างประเทศ.
ชูชาติ พุฒเพ็ง. (2560). ซาอุดีอาระเบียยุคใหม่ ท้าทายทุกความเปลี่ยนแปลง. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2565, จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=44393
ชไมพร รุ่งฤกษ์ฤทธิ์, วิภาดา สุวรรณประภา และสุชาดา สนามชวด. (2551). ความคุ้มค่าของการส่งเสริมแรงงานไทยไปต่างประเทศ. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เดลินิวส์. (2562, 7 สิงหาคม). สิทธิสตรีซาอุฯ. เดลินิวส์. เข้าถึงได้จาก https://www.dailynews.co.th/article/724419
ทีเอ็นเอ็นออนไลน์. (2565, 16 กุมภาพันธ์). ก. แรงงานเผยคนไทยแจ้งขอทำงานซาอุฯ กว่า 300 คน เงินเดือนสูงสุด 1 แสนบาท. ทีเอ็นเอ็นออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://www.tnnthailand.com/news/social/105126/
เนชั่นออนไลน์. (2561, 2 มกราคม). ปฏิรูป "ซาอุฯ" สั่นสะเทือนตะวันออกกลาง. เนชั่นออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://www.nationtv.tv/news/378593575
บีบีซีไทย. (2565, 27 มกราคม). ซาอุดีอาระเบีย จะยังเป็น “ขุมทอง” ของแรงงานไทยได้เหมือนในอดีตหรือไม่. บีบีซีไทย. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-60151736
บุญโชค พานิชศิลป์. (2560, 4 พฤศจิกายน). Vision 2030: นโยบายวาดฝัน ถึงอนาคตที่ล้ำหน้าของซาอุดีอาระเบีย. The Momentum. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://themomentum.co/vision-2030/
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2565, 26 มกราคม). ซาอุฯดีมานด์แรงงาน 8 ล้านคน เช็กอาชีพที่เปิดโอกาสให้คนไทยที่นี่. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-851364
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2565, 3 กุมภาพันธ์). อยากไปทำงานซาอุ เช็กที่นี่! ก.แรงงานจัดศูนย์สอบฝีมือ 77 แห่ง 40 อาชีพ.ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2565, จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-857023
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2565, 9 มีนาคม). สุชาติ MOU แรงงานไทย-ซาอุ ส่งออก “ช่างเชื่อม-ช่างไม้-ภาคบริการ”. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2565, จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-881895
ประชาไท. (2565, 3 กุมภาพันธ์). มองอนาคตไทย-ซาอุฯ หลังฟื้นความสัมพันธ์ ใครได้ใครเสียในเกมเศรษฐกิจ การเมือง. ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://prachatai.com/journal/2022/02/97091
มุสลิมไทยโพสต์. (ม.ป.ป.). ซาอุดิอาระเบีย สั่งภาคเอกชนเพิ่มเงินเดือนพนักงานเทียบเท่ารัฐบาล. มุสลิมไทยโพสต์. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://news.muslimthaipost.com/news/11534
รุ่งฤทธิ์ เพ็ชรรัตน์. (2565, 25 มกราคม). Saudi Vision 2030 วิสัยทัศน์ใหม่ราชวงศ์รัฐริมอ่าว ฟื้นความสัมพันธ์ 30 ปี หลังคดี ‘เพชรซาอุฯ’. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://plus.thairath.co.th/topic/speak/101013
ไวท์แชนแนล. (2564, 20 พฤศจิกายน). ซาอุฯ เตรียมขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เพื่อดึงดูดพลเรือนเข้าสู่ภาคเอกชน. ไวท์แชนแนล. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก https://whitechannel.tv/ซาอุฯเตรียมขึ้นค่าแรงฃ/
วิจักขณ์ ชิตรัตน์. (2557, 26 ตุลาคม). ค่าแรงงานในซาอุฯ. กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน.สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จาก http://www.ftawatch.org/node/42199
ศราวุฒิ อารีย์. (2563). ไทย-ซาอุดีอาระเบีย: จากสัมพันธ์แตกร้าวสู่ก้าวย่างแห่ง “มิตรภาพใหม่”. ศูนย์มุสลิมศึกษา.สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก http://www.ias.chula.ac.th/tag/muslim-studies-center/?navmenu=asiatrend&post=2155
สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองเจดดาห์. (2562, 15 กันยายน). สถานการณ์แรงงานในซาอุดีฯ. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2565, จากhttps://jeddah.thaiembassy.org/th/page/24750-labour?menu=5d7e408f15e39c3efc0031a2
เสาวณี จันทะพงษ์. (2556). บทที่ 3 การขาดแคลนแรงงานไทย: สภาพปัญหา สาเหตุและแนวทางแก้ไข. ในตลาดแรงงานไทยและบทบาทในการสร้างความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจไทย, 25-44 (รายงานการวิจัย).กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
อาสาม. (2565, 27 มกราคม). เช็กอาชีพในซาอุฯ เผยค่าแรง รายได้ ยังน่าไปทำงานขุดทองไหม. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2565, จาก https://www.thairath.co.th/scoop/interview/2298497
อุดม สาพิโต. (2552). ปัญหา-อุปสรรค/การส่งเสริมแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศ (กรณีศึกษาแรงงานไทยในโอมาน/เยเมน). (รายงานการศึกษาส่วนบุคคล). กรุงเทพฯ: กระทรวงการต่างประเทศ.
Bangkok Post. (2022, 17 January). New chapter with Saudis feted: Restored ties pave way for jobs, growth. Bangkok Post. Retrieved March 12, 2020, from https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2254007/new-chapter-with-saudis-feted
Ghafar, A. A. (2018). A New Kingdom of Saud?. Brookings. Retrieved March 12, 2020, from https://www.brookings.edu/research/a-new-kingdom-of-saud/
Grand, S. and Wolff, K. (2020). Assessing Saudi Vision 2030: A 2020 Review. Washington, D.C.: Rafik Hariri Center for the Middle Easy, Atlantic Council.
Kosárová, D. (2020). Saudi Arabia’s Vision 2030. Security Forum 2020 Conference Proceedings. Retrieved March 12, 2020, from https://www.researchgate.net/publication/346531524_SAUDI_ARABIA'S_VISION_2030 SECURITY FORUM 2020
Nuruzzaman, M. (2018). Saudi Arabia's ‘Vision 2030’: Will It Save Or Sink the Middle East?. E-International Relations. Retrieved March 12, 2020, from https://www.e-ir.info/2018/07/10/saudi-arabias-vision-2030-will-it-save-or-sink-the-middle-east/
Thai PBS World. (2022, 29 January). New chapter in Thailand-Saudi ties: A happy ending to a bitter saga?. Thai PBS World. Retrieved March 12, 2020, from https://www.thaipbsworld.com/new-chapter-in-thailand-saudi-ties-a-happy-ending-to-a-bitter-saga/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยสยาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน