การรับประทานอาหารจากพืชเป็นหลัก ทางเลือกของผู้ประกอบการร้านอาหารไทยอย่างยั่นยืน
คำสำคัญ:
อาหารจากพืชเป็นหลัก, ผู้ประกอบการ, ร้านอาหารไทย, ความยั่งยืนบทคัดย่อ
การรับประทานอาหารจากพืชเป็นหลัก ช่วยให้สุขภาพดีขึ้น ป้องกันโรคต่างๆ ลดปัญหาโรคอ้วน และช่วยลดอาการของโรค เช่น เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ ไขมันพอกตับ คอเลสเตอรอล ความดันโลหิต และมะเร็งได้ สำหรับตลาดอาหารจากพืชคาดการณ์ว่าในอนาคตจะมีผู้บริโภคอาหารจากพืชเพิ่มขึ้น ดังนั้นร้านอาหารไทยที่เน้นการใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลัก จึงเป็นตลาดที่น่าสนใจ เนื่องจากมีคู่แข่งในตลาดนี้ไม่มากและในอนาคตยังมีโอกาสเติบโตได้อีก โดยการเป็นผู้ประกอบการร้านอาหารไทยโดยใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักเพื่อความยั่งยืน ควรเลือกใช้วัตถุดิบจากพืชออร์แกนิค ควรมีรายการอาหารที่หลากหลาย มีการจัดจานที่สวยงาม นำเสนอชื่อรายการอาหารที่แปลกใหม่ กำหนดรายการอาหารที่เป็นซิกเนเจอร์ของทางร้าน จัดลำดับรายการอาหารยอดฮิต มีช่องทางการสั่งซื้อสินค้าเดลิเวอรี่ ลูกค้าสามารถโทรสั่งสินค้าล่วงหน้าได้ มีการใช้การสื่อการตลาดทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และจัดการสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกร้านให้ดี มีสถานที่จอดรถพียงพอกับลูกค้า
References
ฟู้ดดอกเตอร์คิทเช่น. (2566). ครัวฟู้ดดอกเตอร์ ทำอาหารจากพืช. เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/fooddoctorkitchen
ภษิตา ดํารงตรีผล. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมาซื้อซ้ำของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต). นครปฐม: วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ยูนิลีเวอร์ ฟู้ด โซลูชั่นส์. (ม.ป.ป.). 10 วิธีที่ช่วยร้านอาหารปรับตัวสู่ความยั่งยืน. เข้าถึงได้จาก https://shorturl.asia/WrFcd
ศิรินุช เศรษฐพานิช. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้ออาหารทางเลือกประเภทโปรตีนจากพืชในรูปแบบอาหารแห้ง–ขนมขบเคี้ยวสำหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร และแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 15(2), 412-428.
อรวรา จิ๋วพัฒนกุล. (2564). ศีลธรรมและลัทธิความเชื่อในการไม่บริโภคเนื้อสัตว์บางชนิดของคนไทยบางกลุ่ม ถือเป็นตัวปิดกั้นการทานเนื้อสัตว์ที่ทำมาจากพืช (Plant-based Meat) หรือไม่. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต). นครปฐม: วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
Bansal, S., Connolly, M., & Harder, T. (2021). Impact of a whole-foods, Plant-Based nutrition intervention on patients living with chronic disease in an underserved community. American Journal of Lifestyle Medicine, 16(3), 382-389. https://doi.org/10.1177/15598276211018159.
Craig, W. J., Mangels, A. R., Fresán, U., Marsh, K., Miles, F. L., Saunders, A. V., … Orlich, M. (2021). The safe and effective use of plant-based diets with guidelines for health professionals. Nutrients, 13(11), 4144. https://doi.org/10.3390/nu13114144
Future Market Insights. (2023). Plant-based food market insights – sustainability & market expansion 2023 to 2033. Retrieved from https://www.futuremarketinsights.com/reports/plant-based-food-market
Ganguli, S. C., Russell, L. A., & Tsoi, K. S. (2022). Implementation of a whole food plant based diet in a food as prevention program in a resource constrained environment. Journal of Lifestyle Medicine, 12, 148-52 https://doi.org/10.15280/jlm.2022.12.3.148
Gibbs, J., & Cappuccio, F. P. (2022). Plant-based dietary patterns for human and planetary health. Nutrients, 14(8), 1614. https://doi.org/10.3390/nu14081614
Greger, M. (2020). A whole food plant-based diet is effective for weight loss: The evidence. American Journal of Lifestyle Medicine, 14(5), 500-510. https://doi.org/10.1177/1559827620912400
Hardt, L., Mahamat-Saleh, Y., Aune, D., & Schlesinger, S. (2022). Plant-Based Diets and Cancer Prognosis: a Review of Recent Research. Current Nutrition Reports, 11(4), 695–716. https://doi.org/10.1007/s13668-022-00440-1
Healthline. (2023). What is a whole-foods, plant-based diet?. Retrieved from https://www.healthline.com/nutrition/plant-based-diet-guide
Kotler, P., & Keller, K. L. (2016). Marketing management (15th ed.). Pearson Education.
Lynch, H., Johnston, C., & Wharton, C. (2018). Plant-based diets: Considerations for environmental impact, Protein quality, and exercise performance. Nutrients, 10(12), 1841. https://doi.org/10.3390/nu10121841
Mahankali, S., Kalava, J., Garapati, Y., Domathoti, B., Maddumala, V., & Sundramurty, V. P. (2022). A treatment to cure diabetes using plant-based drug discovery. Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine. https://doi.org/10.1155/2022/8621665
Medawar, E., Huhn, S., Villringer, A., & Witte, A. V. (2019). The effects of plant-based diets on the body and the brain: a systematic review. Transl Psychiatry, 9(226), https://doi.org/10.1038/s41398-019-0552-0
Mia. (2023). Vegen and vegetarian menu. [Image]. Retrieved from https://www.miarestaurantbkk.com/#menu
Molly Ally. (2023). Our ice-cream flavours. [Image]. Retrieved from https://www.mollyally.com/menu
Moss, R., Barker, S., Falkeisen, A., Gorman, M., Knowles, S., & McSweeney, M. B. (2022). An investigation into consumer perception and attitudes towards plant-based alternatives to milk. Food Research International, 159, 111648. https://doi.org/10.1016/j.foodres.2022.111648
Plant Aptitude. (2020). WFPB vs veganism, What's the difference?. Retrieved from https://plantaptitude.com/articles/f/wfpb-vs-veganism-whats-the-difference
Pointke, M., Ohlau, M., Risius, A., & Pawelzik, E. (2022). Plant-based only: Investigating consumers’ sensory perception, Motivation, and knowledge of different plant-based alternative products on the market. Foods, 11(15), 2339. https://doi.org/10.3390/foods11152339
Sun, Z., Scherer, L., Tukker, A., Spawn-Lee, S. A., Bruckner, M., Gibbs, H. K., & Behrens, P. (2022). Dietary change in high-income nations alone can lead to substantial double climate dividend. Nature Food, 3, 29–37. https://doi.org/10.1038/s43016-021-00431-5
T. Colin Campbell Center for Nutrition Studies. (n.d.). Living a whole food, plant-based life. Retrieved from https://nutritionstudies.org/whole-food-plant-based-diet-guide/
USDA. (2023). Thailand's food and restaurant trends in 2023. Retrieved from https://shorturl.asia/a5FYK
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 มหาวิทยาลัยสยาม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน