ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ชาคริต วงษารี
เพชรัตน์ โล้วิชากรติกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางทางตลาด (7P’s) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมทางการตลาด บุคคล หลักฐานทางกายภาพ กระบวนการ และ ปัจจัยคุณภาพการให้บริการได้แก่ ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองลูกค้า ด้านความไว้วางใจ และด้านการเข้าใจและการรู้จักลูกค้าส่งต่อความพึงพอใจในการใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร


วิธีดำเนินการวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล โดยเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคที่เคยใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผู้วิจัยนำผลที่ได้มาประมวลผลโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปที่ระดับความเชื่อมั่น 95 วิเคราะห์ข้อมูลแบบการถดถอยพหุคูณในการทดสอบสมมติฐาน


ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางทางตลาด (7P’s) มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครในด้านกระบวนการ มีค่า Beta สูงที่สุดเท่ากับ 0.391 (Sig.< .000) และปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ มีค่า Beta สูงที่สุดเท่ากับ 0.386 (Sig.< .000) มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร

Article Details

How to Cite
วงษารี ช., & โล้วิชากรติกุล เ. (2023). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการถอนเงินสดผ่านเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติแบบไม่ใช้บัตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร, 2(1), 1–38. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/jmsc_journal/article/view/2003
บท
บทความวิจัย

References

กรกช แสนจิตร, วัชระ บัวทอง, และ ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจใช้บริการ SCB EASY ของลูกค้าธนาคารไทยพาณิขย์ จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 25(3), 91-108.

กฤษณะ ดาราเรือง, สิทธิพร เขาอุ่น, และ สิริมาส หมื่นสาย. (2564). ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจใช้บริการ Mobile Banking Application ของประชาชนในเขตเทศบาลนคร นครสวรรค์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(6), 43-53.

เกริกฤทธิ์ อัมพะวัต, ณัชวิชา สามบุญเที่ยง, และ อัฏฐมา บุญปาลิต.(2564). ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเครดิตของลูกค้าธนาคารออมสิน สาขาบางเลน จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 6(3), 55-63.

เกริกฤทธิ์ อัมพะวัต, ภาคภูมิ คชศิลา, และ อัฏฐมา บุญปาลิต. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรเดบิตเคทีบี ช้อปสมาร์ทแบบมีประกันของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จากัด(มหาชน) ในเขตหนองแขม จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 6(3), 64-73.

จิตติ กิตติเลิศไพศาล, จิรายุ รัตนบว, และ วศิน เพชรพงศ์พันธ์. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ในเขตเทศบาลนครสกลนคร จังหวัดสกลนคร. วารสารชุมชนวิจัย, 14(3), 72-86.

จิรวัฒน์ ธนวินท์ชยางกูร. (2561). พฤติกรรมการใช้บริการและความพึงพอใจของลูกค้าในคุณภาพการให้บริการของธนาคารไทยพาณิชย์ และธนาคารกสิกรไทย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 1(1), 45-55.

ชนิตา จันทศิลป์ และสุภาพร คูพิมาย. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาด กับความภักดีของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสระบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 10(2), 136-146.

ญาณัจฉรา เดชะ, พวงเพ็ญ ชูรินทร์, และ สิญาธร นาคพิน. (2563). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ภาพลักษณ์องค์กร ที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้า ธนาคารพาณิชย์ในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาการจัดการ, 7(1), 25-49.

ทิพย์พิรุณ พุมดวง. (2560). พฤติกรรมการใช้และส่วนประสมทางการตลาดในบริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 37(4), 56-74.

ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร, และ นพมณี ภารุ่งโรจน์รัตน์. (2560). คุณภาพการบริการและกรอบการศึกษาเชิงประจักษ์. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 14(1), 25-37.

ธนาคารกสิกรไทย. (2564). คำถามที่พบบ่อยถอนเงินไม่ใช้บัตร. www.kasikornbank.com/th/personal/digitalbanking/kplus/help/Pages/cardless-withdrawal.html

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). แผนกลยุทธ์ระบบการชำระเงิน ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2564). https://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/PolicyPS/Documents/PaymentRoadmap_2564.pdf

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). PS_PT_004 ปริมาณการใช้บัตรพลาสติกเพื่อการชำระ. https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=683&language=th

ธัญนันท์ บุญอยู่ และ รัชนีกร กล่อมเกลี้ยง. (2564). ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีผลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการนวัตกรรมทางการเงินของธนาคารรัฐวิสาหกิจในพื้นที่จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ, 4(2), 647-657.

นันทพร ห้วยแก้ว. (2563). ปัจจัยคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสินเชื่อของบริษัท เมืองไทย แคปปิตอล จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5(1), 44-55.

นันทิกานต์ ธิหลวง และ บุษกรณ์ ลีเจ้ยวะระ. (2564). พฤติกรรม ความต้องการ และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองของลูกค้าในการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน ธนาคารออมสิน สาขาบ้านดุง. Journal of Modern Learning Development, 6(4), 176-190.

นุรซาร์ฮิดาห์ อุเซ็ง, ปาริชาติ เบ็ญฤทธิ์, และอัลญาณ์ สมุห์เสนีโต. (2563). โมเดลเชิงสาเหตุอิทธิพลคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าธนาคารอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 9(2), 148-170.

ปฐมพงค์ กุกแก้ว และ พุฒิพงศ์ ดวงจันทร์. (2563).ปัจจัยคุณภาพการให้บริการและปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการด้านไอทีของลูกค้า ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้นกล้า บุ๊ค. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5(1), 27-43.

พัชรี ยวนไธสงค์ และ วิกรานต์ เผือกมงคล. (2561). พฤติกรรมการใช้บริการและคุณภาพการให้บริการรถเคลื่อนที่ของธนาคารออมสิน. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 1-12.

พิทยา ผ่อนกลาง และ อภิวรรณ์ หมื่นสอาด. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการโมบายแบงก์กิ้งของผู้ใช้บริการในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(2), 153-164.

ภาวิณี ทองแย้ม. (2560). ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าผู้ใช้บริการธุรกิจประเภทไฮเปอร์มาร์เก็ตไทย. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 7(2), 120-150.

วงศ์ลัดดา วีระไพบูลย์ และ โสภิต มนต์ฉันทะ. (2561). โมเดลเชิงสาเหตุอิทธิพลคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ความไว้เนื้อเชื่อใจและความจงรักภักดีของลูกค้าธนาคารกรุงไทย สาขากาญจนบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย), 11(2), 2981-2996.

วรดา ต่อวัฒนกิตติกุล. (2563). กลยุุทธ์การตลาดดิจิทัลไลฟ์สไตล์ของธนาคารที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชัน เคพลัสของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการบริหารธุุรกิจ สมาคมสถาบันอุุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชููปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารี, 9(2), 81-95.

วัชรพงศ์ จันทรดี และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2559). การจัดการลูกค้าสัมพันธ์และความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าธนาคารออมสินภาค 9. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 11(2), 71- 86.

วรรณวิสา ท่าหิน และ ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์. (2562). แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในเขต อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารการบริหารและการจัดการ, 9(1), 197-213.

สฤษดิ์ ศรีโยธิน. (2562). การจัดการความคาดหวัง : เครื่องมือสร้างคุณภาพในองค์กรบริการ. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 37(1), 131-143.

สิริลักษณ์ ทองพูน. (2559). คุณภาพการบริการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการธนาคาร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(2), 70-83.

สุมาลี รามนัฏ. (2562). อิทธิพลตัวแปรคั่นกลางพหุขนานของภาพลักษณ์องค์การและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่ถ่ายทอดอิทธิพลของคุณภาพการให้บริการสู่พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้ใช้บริการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(2), 151-161.

สุรเสกข์ พงษ์หาญยุทธ. (2561). อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความจงรักภักดีในการเลือกใช้บริการสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 5(1), 91-103.

โสภาพรรณ ไชยพัฒน์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการบริการของสำนักงานบัญชีในจังหวัดภูเก็ต. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(4), 30-42.

โสภิต มนต์ฉันทะ และ วงศ์ลัดดา วีระไพบูลย์. (2561). โมเดลเชิงสาเหตุอิทธิพลคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ความไว้เนื้อเชื่อใจและความจงรักภักดีของลูกค้าธนาคารกรุงไทย สาขากาญจนบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย), 11(2), 2981-2996.

อนงค์วรรณ อุประดิษฐ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพการบริการของสำนักงานบัญชีในจังหวัดลำปาง. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 6(5), 245-259.

Kotler, P. (2000). Marketing Management: The Millennium Edition. Edition: 10th. Publisher: Prentice Hall, Inc.

Parasuraman A., Valarie A. Zeithaml and Leonard L. Berry. (1985). A Conceptual Model of Service Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing, 49( 4), 41-50.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of Retailing, 64(1), 12–40.

Parasuraman, A., Valarie A. Zeithaml and Leonard L. Berry. (1994). Reassessment of Expectations as a Comparison Standard in Measuring Service Quality: Implications for Further Research. Journal of Marketing, 58 (1), 111-124.