การพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างงานและรายได้ชุมชนอย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งเน้นการศึกษาผ่านเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมเป็นบทความวิชาการเพื่อนำไปสู่การศึกษาแนวทางการพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาหลักการพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างงานและรายได้ชุมชน รวมถึงปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยผลการศึกษาพบว่าหลักการพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 4 หลักการสำคัญ ได้แก่ 1) ศูนย์กลางของการพัฒนา 2) การระเบิดจากข้างใน 3) การมีส่วนร่วมของชุมชน และ 4) การปลูกจิตสำนึกการพัฒนาชุมชน ส่วนแนวทางการพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างงานและรายได้ชุมชน ประกอบไปด้วย 5 ตัวชี้วัด คือ 1) การรวมกลุ่มพัฒนาทักษะอาชีพหลัก 2) การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 3) การพัฒนากลุ่มออมทรัพย์ 4) การสร้างรายได้และการลดรายจ่าย 5) การจัดทำบัญชีครัวเรือน และสุดท้ายปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนอย่างยั่งยืน นั้น มี 5 ปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้ 1) ผู้นำชุมชน 2) องค์ความรู้ 3) ต้นทุนชุมชน 4) องค์กรสนับสนุน และ 5) จิตสำนึกด้านเศรษฐกิจพอเพียง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆ
ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร ถือเป็นความเห็น
และความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่
เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของคณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร
ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก
คณะวิทยาการจัดการและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ก่อนเท่านั้น
References
รายการอ้างอิง
กรชนก สนิทวงค์ และ ณรงค์ เจนใจ. (2563). แนวทางการพัฒนาชุมชนตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การสร้างสังคมอยู่ดีมีสุข“พอมี พอกิน พอใช้”.
วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 5(1), 22-33.
บัญชร แก้วส่อง. (2558). หนึ่งชุมชนหนึ่งงานวิจัยการเตรียมคนฐานรากเพื่อเข้าสู่
เมืองไทย 4.0. https://vijaitongtin.wordpress.com/
ปรเมธี วิมลศิริ. (2559). หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การวางแผนพัฒนา
ประเทศอย่างยั่งยืน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 14(3), 65-80.
ผู้จัดการออนไลน์. (2559). “ระเบิดจากข้างใน” หัวใจแห่งการพัฒนาใน
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ : ดร.สุเมธตันติเวชกุล. https://mgronline.
com/onlinesection/detail/9590000115284
พร้อมภัค บึงบัว. (2558). กลยุทธ์ทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยกระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารพฤติกรรม
ศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 7(1), 281-294.
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. (2551). เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร. กรุงเทพฯ: สถาบัน
ไทยพัฒน์มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์.
พิมลพรรณ บุญยะเสนา. (2561). กิจกรรมและเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชน ตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(19), 127-139.
มนสิชา อนุกูล. (2565). แนวทางการจัดการส่งเสริมกลุ่มอาชีพชุมชน ตำบลบาง
ขยะแยง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์,
(1), 137-146.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2562, 15 สิงหาคม). เศรษฐกิจพอเพียง. http://www.chaipat.
or.th
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2562, 15 สิงหาคม). วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 :
ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ. https://www.stou.ac.th
วัลลภ จันดาเบ้า และ คณะ. (2556). การจัดการพัฒนารูปแบบวนเกษตรตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาเกษตรกรใน 4 อำเภอของจังหวัดอุดรธานี.
วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์, 4(2), 131-150.
วิภาวี กฤษณะภูติ. (2556). การจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน: การเรียนรู้จากกลุ่ม
อาชีพทอผ้าไหมและทอผ้าฝ้ายในจังหวัดขอนแก่น. วารสารมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์, 30(1), 165-188.
วิทูลย์ แก้วสุวรรณ และ คณะ. (2557). ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง. วารสาร
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2(1), 80-92
ศูนย์บริหารงานกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2562, 15 สิงหาคม). http://www.
cca.chula.ac.th
สมแก้ว รุ่งเลิศเกรียงไกร และคณะ. (2547). รูปแบบการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน
ของโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. ชุดโครงการการจัดการของ
วิสาหกิจชุมชนในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในภาคใต้.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สยามรัฐ. (2560, 6 กุมภาพันธ์). ประเทศไทย 4.0 อย่าลืม เศรษฐกิจชุมชน. https://
siamrath.co.th/n/9124.
สุเทพ พันประสิทธิ์. (2558). เรื่องการศึกษาการขยายผลทางเศรษฐกิจของชุมชน
บนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี.
วารสารสุทธิปริทัศน์, 29 (92), 304-321.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562, 15 สิงหาคม).
สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ.
-2549. https://www.nesdc.go.th
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ 21 เซ็นจูรี่ เลขที่ 1.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุป
สาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พศ. 2555-
https://www.moj.go.th/attachments/2017031
_61170.pdf?fbclid=IwAR1XQFP_6Jkem_PkvLFqx3spb
KTYnvGVIu08nVNDOdffncXG0JpcZVmE44
สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. (2562, 15 สิงหาคม). การพัฒนาผลิตภัณฑ์
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการส่งเสริมด้านการตลาด.
สำนักงานพัฒนาชุมชน. (2554). คู่มือปฏิบัติงานกรรมการชุมชน. กรุงเทพฯ.
Community Development Office. (2011). The Community
Operation Manual. Bangkok : Community Development Office.
สิริกร บุญสังข์, วรรณษา แสนลำ, นัฎฐา มณฑล, และ นิตยา ปรุกระโทก. (2560).
การพัฒนาชุมชนต้นแบบในการนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อ
ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข. วารสารชุมชนวิจัย. 11(2), 9-20.
เสาวนีย์ อาภามงคล. (2559). ตัวแบบการพัฒนาชุมชนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง. วารสารเอเชียพิจารณ์. ศูนย์การศึกษาเอเชีย คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 3(5), 151 –174.
สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
(2554). ระดับความพอเพียง. http://sufficiencyeconomy.blogspot.
com/2006/02/3.html
อารันต์ พัฒนโนทัย. (2543). “งานวิจัยเชิงระบบ: ทิศทางและสถานภาพปัจจุบัน”.
ในรายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ระบบเกษตรเพื่อ
การจัดการทรัพยากรและพัฒนาองค์กรชุมชนอย่างยั่งยืน. 15-17
พฤศจิกายน 2543. กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ