ผลลัพธ์จากการทำบัญชีครัวเรือนชุมชนบ้านพระพุทธบาทสี่รอย ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

พุทธมน สุวรรณอาสน์
กิรณา ยี่สุ่นแซม
รัชนีกร ปัญญา
พิชญานันท์ อมรพิชญ์

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากการทำบัญชีครัวเรือนชุมชนบ้านพระพุทธบาทสี่รอย ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่  โดยประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ สมาชิกชุมชนบ้านพระพุทธบาทสี่รอย ผู้เข้าร่วมอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 120 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 52 คน  ใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ทำการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยการตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลที่ได้ตามขอบเขตเนื้อหาและวัตถุประสงค์ รวมทั้งวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


         ผลการวิจัยพบว่า การจัดทำบัญชีครัวเรือนส่งผลให้ครัวเรือนชุมชนบ้านพระพุทธบาทสี่รอย ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เกิดกระบวนการรับรู้รายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน ส่งผลให้เกิดความตระหนักและความรอบคอบในการจ่ายเงิน  คิดก่อนใช้มากขึ้น โดยมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4.59 ระดับมากที่สุด เป็น 4.79 ระดับมากที่สุด จากนั้นจึงหาแนวทางลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ทำให้มีแนวทางเพิ่มเงินออมให้มากขึ้นและภาระหนี้สินที่ลดลง โดยการมีแนวทางลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4.41 ระดับมาก เป็น 4.57 ระดับมากที่สุด  และการมีแนวทางเพิ่มออมเงิน มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4.59 ระดับมากที่สุด เป็น 4.68 ระดับมากที่สุด อีกทั้งมีการใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือในการวางแผนทางการเงินได้  ตลอดจนเกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ส่งผลต่อทัศนคติเชิงบวกในการจัดทำบัญชีครัวเรือน

Downloads

Article Details

How to Cite
สุวรรณอาสน์ พ., ยี่สุ่นแซม ก., ปัญญา ร., & อมรพิชญ์ พ. (2025). ผลลัพธ์จากการทำบัญชีครัวเรือนชุมชนบ้านพระพุทธบาทสี่รอย ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร, 4(1), 123–146. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/jmsc_journal/article/view/4858
บท
บทความวิจัย

References

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2566). Smart 4M with Moral. https://smart4m.cad.go.th/

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2566ก). โครงการสำคัญ. โครงการและหลักสูตร. https://www.cad.go.th/more_news.php?cid=5223&filename=index

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2566ข). สมุดบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน. บัญชีกลุ่มต้นทุนอาชีพ. https://www.cad.go.th/main.php?filename=account

กฤตติกา แสนโภชน์. (2566ก). กลยุทธ์ในการเสริมสร้างความเข้าใจและความตระหนักในการบันทึกบัญชีครัวเรือนของประชาชนในตำบลกุดจับ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 12(2), 53–66.

กองทุนการออมแห่งชาติ. (2563ก). 4 วิธีออมเงิน ใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ ในหลวง รัชกาลที่ 9. กองทุนการออมแห่งชาติ. https://www.nsf.or.th/node/958

กองทุนการออมแห่งชาติ. (2563ข). 7 แนวคิดเรื่องการออมของในหลวง รัชกาลที่ 9 ต้นแบบพระมหากษัตริย์นักออม. กองทุนการออมแห่งชาติ. https://www.nsf.or.th/node/960

ขจรอรรถพณ พงศ์วิริทธิ์ธร, สาลินี ชัยวัฒนพร, ศิกาญจน์มณี ไซเออร์ส, ภาคภูมิ ภัควิภาสม, และสุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์. (2563). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนเขตพัฒนาเศรษฐกิจ

พิเศษ: เชียงราย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 6(6), 1–15.

ชลธิชา วิริยะจงเจริญ. (2563). พฤติกรรมการทำบัญชีรายรับรายจ่ายเพื่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของประชาชนในเขตฝั่งธนบุรี. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 9–20.

ณัฏฐ์ดนัย ประเทืองบริบูรณ์, ปิยพัชร์ ศรีวงษ์วิศาล, และโสภณ ตู้จินดา. (2566). เศรษฐกิจพอเพียงและบัญชีครัวเรือน: แนวคิดการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน/ผ่านศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. วารสารวิทยาการจัดการและการบัญชี, 2(2), 1–18.

ณัฐพัชร์ อภิวัฒน์ไพศาล และชนัญชิตา อรุณแข. (2566). การทำบัญชีครัวเรือนแบบมีส่วนร่วมในยุคโควิด-19 เพื่อวางแผนจัดการทางการเงิน กรณีศึกษา: ตำบลไผ่พระ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12(1), 78–93.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). การดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อประเทศชาติ ในรายงานประจำปี 2565 (หน้า 12). https://media.set.or.th/set/Documents/2023/Apr/SET_Annual_Report_2022_TH.pdf

ทศพร แก้วขวัญไกร, ฐิติพร วรฤทธิ์, บุญญฤทธิ์ เทียนวรรณ, จินตนา น้อยโพนทัน,และวัลวิภา ชาติชาวนา. (2563). พฤติกรรมและสภาพปัญหาการจัดทำบัญชีครัวเรือนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลดปัญหาหนี้สินของเกษตรกรบ้านหินลาดหมู่ 4, หมู่ 5, หมู่ 6 และหมู่ 9 ตำบลหินลาด อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 4(2), 63–81.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). การวางแผนการเงิน เป็นเครื่องมือที่ช่วยเตรียมความพร้อมและนำชีวิตไปสู่ความมั่นคงทางการเงิน. https://www.bot.or.th/th/satang-story/money-plan/planning-steps.html

ธีร์วรา สุตัณฑวิบูลย์, นัยนา แคล้วเครือ, พรสิริ สุขผ่อง, ยุพา สะรุโณ, และลำใย มีเสน่ห์. (2562). การศึกษาพฤติกรรมและสภาพปัญหาการจัดทำบัญชีครัวเรือน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลดปัญหาหนี้สินของเกษตรกรจังหวัดราชบุรี. วารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 4(2), 58–71.

นัคมน เงินมั่น, พรสวรรค์ ศิริกัญจนาภรณ์, และจุลดิษฐ์ อุปฮาต. (2560). รูปแบบการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจครอบครัว. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 12(41), 59–70.

นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ. (2559). บัญชีพอเพียง: แก้ความยากจน. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12(36), 76–84.

นิศรา จันทร์เจริญสุข. (2557). การพัฒนาบัญชีครัวเรือนเพื่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของชุมชนบ้านสันลมจอย ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 6(2), 63–74.

ผกามาศ บุตรสาลี, สุพัตรา รักการศิลป์, และแก้วมณี อุทิรัมย์. (2565). นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเสริมสร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืนของชุมชนสายยาว ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(1), 92–103. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.8

พรเพ็ญ สดศรีชัย. (2567). การแก้หนี้อย่างยั่งยืนนั้น … สำคัญไฉน (ตอนที่ 1). ธนาคารแห่งประเทศไทย. https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/articles-and-publications/articles/article-2024Jan25.html

พีพีทีวี ออนไลน์ (PPTV Online). (2567). เปิด 7 อันดับหนี้ของคนไทย พร้อมแผนรับมือที่ทำได้จริง. pptvhd36.com. https://www.pptvhd36.com/wealth/stock-investment/219899

ภาวินีย์ ธนาอนวัช. (2566). การจัดทำบัญชีครัวเรือน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการจัดการเศรษฐกิจระดับครัว เรือน. วารสารการบริหารจัดการและนวัตกรรมท้องถิ่น, 5(1), 310–321.

ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ, สาธิยา กลิ่นสุคนธ์, ขนิษฐา หาระคุณ, สุไพลิน พิชัย, และกานต์ธีรา พละบุตร. (2566). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันบัญชีรับ - จ่ายครัวเรือนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดเลย. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 11(1), 69–84.

สวัสดิ์ หากิน และเสรฐสุดา ปรีชานนท์. (2564). บัญชีครัวเรือน: เครื่องมือในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อจัดการหนี้สิน กรณีศึกษาชุมชนบ้านแม่ขี้มูก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 16(56), 43–53.

สำนักสถิติแห่งชาติ. (2566). สำรวจ - สำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน. https://www.nso.go.th/nsoweb/nso/survey_detail/qC?set_lang=th

อนงค์รักษ์ ชนะภัย. (2564). การจัดการองค์ความรู้เพื่อยกระดับการทำบัญชีครัวเรือนชุมชนบ้านปรือรูง ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 9(1), 51–62.

Deenang, E. & Sanubon, p. (2020). Financial Knowledge and Saving Behaviors in Rural Areas of Thailand: A Descriptive Survey. Proceedings of International Conference on Multidiciplinary Research, 3, 1–4. https://ojs.serambimekkah.ac.id/ICMR/article/view/2703

Likert, R. (1932). A technique for measurement of attitudes. Archives of Psychology, 22(140), 5–55.