คุณภาพบริการของสำนักงานอัยการจังหวัดแม่สะเรียงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการตามการรับรู้ที่ผู้ใช้บริการมีต่อการให้บริการของสำนักงานอัยการจังหวัดแม่สะเรียง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 386 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีไม่อาศัยความน่าจะเป็นแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที (t- test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.68) โดยการรับรู้ในด้านความน่าเชื่อถือไว้วางใจได้มากที่สุด และด้านความเอาใจใส่ในผู้รับบริการ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านการให้ความเชื่อมั่น ต่อผู้รับบริการและด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ โดยผู้ใช้บริการที่มีอาชีพต่างกันมีการรับรู้ต่อคุณภาพการให้บริการไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละด้าน ยกเว้นด้านการให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการมีค่าน้อยกว่านัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สำหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผู้ใช้บริการมีความคิดเห็นต่อคุณภาพบริการแตกต่างกันด้านการให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการจำแนกตามอาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆ
ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร ถือเป็นความเห็น
และความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่
เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของคณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร
ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก
คณะวิทยาการจัดการและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ก่อนเท่านั้น
References
กัญญา ทรัพย์พล. (2559). คุณภาพการให้บริการของงานบริหารการคลัง มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. ค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ชาญธิวัฒน์ กิจสวัสดิ์. (2559). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนกรณีศึกษา เทศบาลเมืองไร่ขิงอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) มหาวิทยาลัยมหิดล.
ธนภัทร์ พงษ์สถิต. (2563). คุณภาพการให้บริการรถไฟโดยสารของสถานีรถไฟอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สารนิพนธ์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
นิติพงศ์ มานะพงศ์. (2561). การรับรู้คุณภาพบริการ การรับรู้การส่งเสริมการขายการรับรู้ภาพลักษณ์ทางสังคม การรับรู้ค่านิยมทางสังคมส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของไทยเพื่อเดินทางไปประเทศญี่ปุ่น. ค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปิยณัฐ จันทร์เกิด. (2560). คุณภาพการให้บริการของเทศบาลนครนครสวรรค์ตามการรับรู้ของประชาชน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
พุธิตา ยี่ประชา. (2559). คุณภาพการให้บริการสำนักงานที่ดินจังหวัดนครปฐม.ค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
รัชนู ภู่วัด. (2558). ศึกษาเรื่องคุณภาพการให้บริการงานทะเบียน ด้านทะเบียนราษฎรสำนักทะเบียน อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท. ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พรไพรินทร์ พฤฒิรัตน์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการของสำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดนครราชสีมา. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.
สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานอัยการสูงสุด. (2564). สารบบคดีอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 8 กันยายน 2564, จาก http://sarabobkadee.ago.go.th:7003/ Sarabobkadee/ESBToDoListAction.do?method=init:.
วิกิพีเดีย. (2564). สารานุกรมเสรี อำเภอแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2564, จาก https://th.wikipedia.org/wiki.
Buzzell, R. D., & Gale, B. T. (1987). The PIMS Principles: Linking Strategy to Performance. New York: The Free Press.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.
Crosby, L. A., Evans, K. R., & Cowles, D. (1990). Relationship Quality in Services Selling: An Interpersonal Influence Perspective. Journal of Marketing, 54(3), 68-81.
Gronroos, G. T. (1990). Service Management and Marketing. Massachusetts: Lexington Books.
Millett, J. D. (1954). Management in the Public Service: The Quest for Effective Performance. New York: McGraw-Hill Book Co.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A Multi –item Scale for Measuring Consumer Perception of Service Quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-37.
Parasuraman, A., Zeithaml, V., & Berry, L. L. (1990). Delivering Quality Service: Balancing Customer Perceptions and Expectations. New York: The free press.
Taro Yamane. (1973). Statistic: an Introductory Analysis. (2nd ed.). New York: Harper & Row.