จากความปรารถนาในการก้าวของชีวิต “ตูน บอดี้สแลม” สู่การสื่อสารเพื่อประกอบสร้างตัวตน

Main Article Content

ทิพย์พธู กฤษสุนทร

บทคัดย่อ

สำหรับบทความนี้ ผู้เขียนได้นำปรากฏการณ์ของการก้าวในชีวิต “ตูน บอดี้สแลม” มาทบทวนด้วยทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ (Maslow) ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เพื่อฉายภาพให้เห็นการก่อร่างสร้างตัวตนจากอดีต ตั้งแต่เส้นทางการเป็นศิลปินจวบจนจุดสูงสุดอย่างการวิ่งเพื่อระดมทุนใน “โครงการก้าวคนละก้าว” และต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคโลกาภิวัตน์ที่ผู้คนประสบกับวิกฤติอัตลักษณ์ จากการวิเคราะห์การสื่อสารเพื่อประกอบสร้างตัวตนของ “ตูน บอดี้สแลม” พบว่า มีหลากหลายมิติและเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ อันได้แก่ 1) ตัวตนที่ต้องการพื้นที่แสดงความสามารถทางดนตรี 2) ตัวตนของการเป็นศิลปินนักร้อง 3) ตัวตนของการเป็นนักกีฬา 4) ตัวตนที่ต้องการประกาศชัยชนะ และ 5) ตัวตนที่ต้องการสร้างให้สมบูรณ์  ทั้งนี้สอดคล้องกับลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ตั้งแต่ขั้นที่ 2 ด้านความปลอดภัย ขั้นที่ 3 ด้านความรัก ขั้นที่ 4 ด้านการความเคารพนับถือ และขั้นที่ 5 ด้านการทำให้เป็นจริงด้วยตนเอง เพราะฉะนั้น แม้ว่าคน ๆ หนึ่ง (ตูน บอดี้สแลม) จะมีตัวตนหลากหลายมิติก็ตาม แต่การที่เขาและเธอจะพลิกโฉมหน้าใดออกมาสื่อสารกับคนอื่นนั้น ขึ้นอยู่กับผลประโยชน์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่บุคคลนั้นต้องต่อรองช่วงชิงให้ได้มาเช่นกัน

Article Details

How to Cite
กฤษสุนทร ท. (2023). จากความปรารถนาในการก้าวของชีวิต “ตูน บอดี้สแลม” สู่การสื่อสารเพื่อประกอบสร้างตัวตน. วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร, 2(1), 79–104. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/jmsc_journal/article/view/2812
บท
บทความวิชาการ

References

รายการอ้างอิง

กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2).

กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์.

กาญจนา แก้วเทพ. (2557). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3).

กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์.

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี

เศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

จันทร์วรรณ ขนุนทอง และคณะ. (2564). คุณค่าจากบทเพลงของศิลปินวงบอดี้

สแลมเพื่อสร้างเสริมกำลังใจในการดำเนินชีวิต.วารสารมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 15(1), 1-29.

ณัชชา ตั้งตรงหฤทัย. (2559). การศึกษาบทบาทของเพลงร็อกในการปลูกฝังคุณค่า

และการสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตของเยาวชน [วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต]. สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

ณัฐิวุฒิ คชินทร์. (2561). กลยุทธ์การสื่อสารการวิ่งเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคม

กรณีศึกษา โครงการก้าวคนก้าว [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธงชัย บุญนำสุขสกุล. (2564). บทเพลงวงบอดี้สแลม: คุณค่าและความคิดเห็นของ

ผู้ฟังเกี่ยวกับผลกระทบของบทเพลงต่อพฤติกรรมของตน [การค้นคว้า

อิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นันท์ธนา สุรเสวี. (2551). กระบวนวการสร้างและขยายความมีชื่อเสียงให้กับนักกีฬา

เทนนิสชายและหญิงของสื่อมวลชนไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แนวหน้า บันเทิง. (2563, 29 กุมภาพันธ์). ‘โน้ส-อุดม แต้พานิช’ ชวนคนไทยส่งต่อ

พลังน้ำใจกับโครงการก้าวต่อไปด้วยพลังเล็ก ๆ ภาคเหนือ. หนังสือพิมพ์

แนวหน้าออนไลน์. https://www.naewna.com/entertain/476074

ประภัสสร วัฒนา. (2560). แนวความคิดมนุษยนิยมของมาสโลว์ (Maslow) และ

แนวความคิดอัตถิภาวนิยมของณอง ปอล ซาร์ตร์ (Jean Paul Sartre)

ที่ปรากฏผ่านนวนิยายเรื่อง “วันหนึ่งในชีวิตของอีวาน เดนิโซวิช”

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พัฒนา กิติอาษา. (2546). คนพันธุ์ป๊อป: ตัวตนคนไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยม.

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

พัดโบก วังแก้ว. . (2561, 22 กรกฎาคม). “หนักก็เพราะยังเก็บ เจ็บก็เพราะยังคิด”

#วิชาตัวเบา บทเพลงธรรมะสุดลึกล้ำ ซิงเกิ้ลล่าสุด!. JS100 Report.

https://www.js100.com/en/site/post_share/view/59099.

พิทักษ์ จันทร์ผลงาม. (2565, 15 ธันวาคม). “วันสิ้นปี” หรือ วันสิ้นรัก? ความนัย

สลักลงเพลงของ Bodyslam. Beartai. BUZZ. https://www.beartai.

com/lifestyle/music-lifestyle/1186709

พิไลวรรณ ฉายแสง. (2561). การสื่อสารเพื่อสร้างอัตลักษณ์เพศหญิงในพื้นที่มวยไทย

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เฟซบุ๊กมูลนิธิก้าวคนละก้าว. (2566, 21 ธันวาคม). มูลนิธิก้าวคนละก้าว. https://www.

facebook.com/kaokonlakaofoundation

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2540). ศิลปินวงละอ่อน. https://www.th.wikipedia.

org/wiki/ละอ่อน

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2566). อาทิวราห์ คงมาลัย. https://th.wikipedia.org/

wiki/อาทิวราห์_คงมาลัย

ศรุตานนท์ ไรแสง. (2557). การศึกษาวิเคราะห์คุณวิทยาที่ปรากฏในบทเพลงของ

ศิลปินวงบอดี้สแลม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหา

จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

สุกัญญา บุญแล. (2552). การสื่อสารอัตลักษณ์กับการบริโภคสื่อโปสการ์ดท่องเที่ยว

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์. กรุงเทพฯ สำนักงานคณะกรรมการวิจัย

แห่งชาติ.

อาทิตยา ทรัพย์สินวิวัฒน์. (2565). กระบวนการสั่งสมทุน แปลงทุน ขยายทุน ของ

“อาทิวราห์ คงมาลัย” ในการวิ่งมาราธอนเพื่อช่วยเหลือสังคม. วารสาร

ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์).

(28), 174-183.

Bus & Truck. (2564, April 26). “พี่ตูน บอดี้สแลม” จากร็อกสตาร์มหาชน จน

กลายเป็นพรีเซ็นเตอร์รถกระบะทั้ง 2 ค่าย ที่ไม่มีใครทำได้มาก่อน....

คอลัมนิสต์ Bus & Truck#เพื่อผู้ประกอบการรถพาณิชย์. https://www.

busandtruckmedia.com/28600

Giddens, A. (1991). Modernity and Self-identity: Self and Society in the

Late Modern Age. California: Stanford University Press.

Hall, S. (1997). Representation: cultural representations and signifying.

London: Sage.

Maslow, A. H. (1970). Motivation and personality. New York: Harper

& Row.

Subsinwiwat, R. T. (2021). The Journeys of Capital Accumulation

Transformation, Extension and Communication Strategies

for The Image-Making of THAI Marathon Running Celebrities.

[Doctor of Philosophy]. National Institute of Development

Administration.

Unlockmen Team. (2560, November 6). การวิ่งเพื่อสุขภาพ (คนอื่น):

ตูน-อาทิวราห์ ก้าวเพื่อแลกสุขภาพตัวเองกับสุขภาพคนทั้งประเทศ.

UNLOCKMEN LIFE. https://www.unlockmen.com/hennessy-

artistry-presents-diffraction

Woodward, K. (1997). Identity and Difference. London: Sage.