การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังที่มีต่อที่พักประเภทโรงแรมกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

Main Article Content

ขนิษฐา สวัสดี
ณภัทร มงคลสวัสดิ์
เนตรชนก จุลรังษรี
วัชรพล จันทร์หอม
ศิษฏ์สินี ภาณุมาศ ณ อยุธยา
จารุวรรณ ทองเนื้อแข็ง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อที่พักประเภทโรงแรมในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาระดับความคาดหวังของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อที่พักประเภทโรงแรมในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังที่มีต่อที่พักประเภทโรงแรมกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เข้ามาพักแรมในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวนทั้งหมด     400 คน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นการเก็บข้อมูล ระดับความเชื่อมั่นไม่เกินร้อยละ 90 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
ผลจากการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มนักท่องเที่ยวมีจุดประสงค์ในการเข้ามาพักเพื่อพักผ่อน/ท่องเที่ยว ร้อยละ 68.7 เข้าพักแบบครอบครัว ร้อยละ 39.30 งบประมาณในการเข้าพัก 2,500 บาท ร้อยละ 26.00 เหตุผลในการเข้าพัก คือ ความสวยงาม ร้อยละ 35.3 ส่วนใหญ่กลับมาใช้บริการโรงแรมอีก ร้อยละ 35.30 มีความพึงพอใจในบริการประทับใจ ร้อยละ 22.70 เข้าพักในโรงแรมช่วงวันหยุดนักฤกษ์ ร้อยละ 60 และผู้ที่มีอิทธิพในการเลือกใช้บริการที่พักในโรงแรม คือ ตัวฉัน ร้อยละ 44.00 2) ความคาดหวังของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อที่พักประเภทโรงแรมในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบว่า อันดับแรก ได้แก่ ด้านความปลอดภัย (x̄ = 3.37, S.D.=0.68) รองลงมา ได้แก่ ด้านทำเลที่ตั้ง (x̄= 3.96, S.D.=0.75) และอันดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านผู้ให้บริการ (x̄ = 3.37, S.D.=0.68) และ 3) ผลการศึกษาเปรียบเทียบ พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีความคาดหวังต่อ ที่พักประเภทโรงแรมแตกต่างกันมีพฤติกรรมการท่องเที่ยวแตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
สวัสดี ข. . ., มงคลสวัสดิ์ ณ. . ., จุลรังษรี เ. ., จันทร์หอม ว. . ., ภาณุมาศ ณ อยุธยา ศ. . ., & ทองเนื้อแข็ง จ. (2024). การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังที่มีต่อที่พักประเภทโรงแรมกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร, 3(2), 97–122. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/jmsc_journal/article/view/5390
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2567). สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศ รายจังหวัด ปี 2567. https://www.mots.go.th/news/category/760

กนกวรรณ นาสมปอง. (2555). สภาพการให้บริการการศึกษาทางอินเตอร์เน็ตงานส่งเสริมวิชาการ และงานลงทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ [การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

กมลวรรณ บวรรุ่งสิริกุล. (2560). ความคาดหวังและความพึงพอใจในการใช้บริการโรงแรมประหยัด ย่านนานา กรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].

จิราพร เรืองทวีศิลป์. (2565). ธุรกิจโรงแรมและที่พัก. https://shorturl.asia/k4KZo

จีรวรรณ บุญพิทักษ์. (2561). ความคาดหวัง การรับรู้ และแนวทางการพัฒนาต่อคุณภาพการบริการ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 15(2), 101 -119.

ชัยวัฒน์ ชัยสิริพร. (2557). ศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อโรงแรมขนาด 3 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].

นิศา ชัชกุล. (2551). อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นพดล ชูเศษ วิวัฒน์ จันทร์กิ่งทอง กอแก้ว จันทร์กิ่งทอง และปัญจา ชูช่วย. (2561). คุณภาพการบริการของโรงแรมในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย. วารสารมหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 10(1), 156 -169.

ประเสริฐศิลป์ จุรุเทียบ. (2542). ความพึงพอใจของลูกคาที่มีต่อการให้บริการของโรงแรมลายทอง จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์].

พรไพลิน จุลพันธ์. (2565). ส่องโรงแรม-เมืองท่องเที่ยวภาคใต้ฟื้นไข้โควิด ปี 65 โกยยอดต่างชาติ 10 ล้านคน. https://www.bangkokbiznews.com/business/1018949

พัฒนะ ธนกฤตพุฒิเมธ. (2559). การประเมินคุณภาพการให้บริการของโรงแรมระดับ 4 ดาว บริเวณ ชายหาด 4 หาดในเมืองพัทยาโดยการประยุกต์ใช้ SERVQUAL Model. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7, 23 มิถุนายน 2559, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

วีระศักดิ์ อินทรประวัติ. (2560). ความคาดหวังของบุคลากรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรบริษัท Play Digital Co., Ltd. [การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี].

ศุภจิต สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2550). ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการบริการของโฮมสเตยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง[วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี].

โศภิษฐา เต็มรัตน์. (2561). คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำในโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

อินดาสตี้ ทีม. (2565). แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทยปี 2565-2567.

https://www.krungsri.com/th/research/industry/summary-

outlook/outlook-2022-2024

อรอรงค์ ทองแท้. (2559). ปัจจัยทางการตลาดในการเลือกเข้าพักโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศในเขตตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์].

Baramizi lab. (2020). แนวโน้มการออกแบบประสบการณ์โรงแรมประจำปี 2020.https://baramizi.co.th/trend/hotel-trends2020/#:~:text=Baramizi%20 Lab

William S. Gray, Salvatore C. Liguori. (2003). Hotel and Motel Management and Operations. Pennsylvania State University.

Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper& Row.