แนวทางการพัฒนา บริษัท TKN จำกัด เข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบริษัทให้ได้มาตรฐาน อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 โดยวิธีการวิเคราะห์หาช่องว่าง การนำเกณฑ์กำหนดของ อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 ตามข้อกำหนดของกระทรวงอุตสาหกรรม มาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมสีเขียวของบริษัทที่ได้ดำเนินการสำเร็จในปัจจุบัน เพื่อวิเคราะห์หาช่องว่างที่ เกิดขึ้น และนำเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการศึกษาจะทำการเก็บข้อมูล การทบทวน เอกสาร การสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์สำหรับผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของบริษัท จำนวน 20 คน ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์บริบทองค์กร โดยการใช้ SWOT เพื่อการผลักดันบริษัทให้ประสบความสำเร็จในอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4
ผลการวิจัยพบว่า บริษัทได้ปฏิบัติตามเกณฑ์กำหนดอย่างดี ในกระบวนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้านสิ่งแวดล้อม การเคารพต่อหลักนิติธรรม และการปฏิบัติตามแนวทางสากล องค์กรมีจุดอ่อนที่ไม่สามารถผลักดันโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวได้สำเร็จ คือ ด้านปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต โอกาสที่พบ คือ หน่วยงานภาครัฐเข้ามาสนับสนุน เพื่อแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนใน ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆ
ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร ถือเป็นความเห็น
และความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่
เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของคณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร
ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก
คณะวิทยาการจัดการและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ก่อนเท่านั้น
References
ภัทรภร โอบอ้อม. (2563). อุตสาหกรรมสีเขียวและโรงงานสีเขียวในประเทศไทย.
[วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต]. https://rsuir-
library.rsu.ac.th/handle/123456789/622
ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ และปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์. (2565). ความสามารถของ
องค์การด้านสิ่งแวดล้อม: แนวคิดนิยามความสำคัญและแนวทาง
การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ของอุตสาหกรรมสีเขียวที่ได้
รับการรับรองในประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(2),
-885.
ศิราณี ศรีใส. (2014). การพัฒนาสู่การเป็นองค์กรสีเขียว. Thai Journal of Public
Health, 44(3), 219-222.
ณัฐพร ยงวงศ์ไพบูลย์. (2563). รูปแบบการจัดการอุตสาหกรรมเหล็กไทยสู่การเป็น
อุตสาหกรรมสีเขียวอย่างยั่งยืน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 9(4),
-1593.
ณัฐพร ยงวงศ์ไพบูลย์. (2563). แนวทางการพัฒนาระบบการจัดการอุตสาหกรรม
เหล็กไทยสู่ การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวอย่างยั่งยืน. [วิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม]. https://e-research.siam.
edu/kb/the-management-model/#dflip-df_39713/9/
วิไลวรรณ โพนศิริ อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า และพาชิตชนัต ศิริพานิช. (2560).
ทุนองค์กรและความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนเชิง
เศรษฐกิจของอุตสาหกรรมไทยตามแนวคิดโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว.
วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(100), 220-233.
พัสพงศ์ เอี่ยมสุภาษิต. (2017). แนวทางการพัฒนาบริษัทเข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว
ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว: กรณีศึกษา บริษัท ดั๊บเบิ้ลเอ (1991) จำกัด
(มหาชน). [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์]